21341 : โครงการผู้ประกอบการเพื่อสังคมรุ่นเยาว์ (TD Young Social Entrepreneurs)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
นางดวงใจ ไพพงค์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 31/1/2567 23:27:55
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
03/02/2567  ถึง  04/02/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  60  คน
รายละเอียด  นักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาพัฒนาการท่องเที่ยว
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะพัฒนาการท่องเที่ยว หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบเงินรายได้ แผนงานการเรียนการสอน งานจัดการศึกษาสาขาพัฒนาการท่องเที่ยว กองทุนเพื่อการศึกษา งบเงินอุดหนุน 2567 10,850.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. เกวลิน  หนูสุทธิ์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะพัฒนาการท่องเที่ยว
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.1.3 ร้อยละของบัณฑิตที่มีงานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.1.3.1 พัฒนาคุณภาพของบัณฑิตเพื่อรองรับหรือเพื่อให้สามารถปฏิบัติงานในตลาดแรงงานระดับอาเซียนหรือนานาชาติ ปรับปรุงหลักสูตรเพื่อเน้นทักษะความเป็นผู้ประกอบการแก่นักศึกษา
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 TDS 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 TDS 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 67-70 TDS 2.1.3 ร้อยละของบัณฑิตที่มีงานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี
กลยุทธ์ 67-70 TDS พัฒนาคุณภาพของบัณฑิตเพื่อรองรับหรือเพื่อให้สามารถปฏิบัติงานในตลาดแรงงานระดับอาเซียนหรือนานาชาติ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ท่ามกลางการแข่งขันของภาคธุรกิจเพื่อให้เติบโตก้าวทันต่อยุคสมัยที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างเป็นพลวัต มีอีกหนึ่งรูปแบบธุรกิจที่มีเป้าหมายในการดำเนินธุรกิจให้อยู่รอด และเติบโตพร้อมๆ กับการสร้างสรรค์สิ่งดีๆ ให้กับสังคม เพื่อช่วยแก้ปัญหาสังคมอย่างยั่งยืนและมีประสิทธิภาพ ซึ่งเรียกว่า กิจการเพื่อสังคม หรือ Social Enterprise (SE) คือ กิจการที่มีจุดมุ่งหมายหลักในการแก้ไขปัญหาสังคมและสิ่งแวดล้อม โดยใช้กลไกการบริหารจัดการที่ดีของภาคธุรกิจผนวกกับความรู้และนวัตกรรมสังคม มีความยั่งยืนทางการเงินจากรายได้หลักที่มาจากสินค้าหรือบริการ โดยไม่ต้องพึ่งพาเงินบริจาค และมีการนำผลกำไรที่เกิดขึ้นไปลงทุนซ้ำเพื่อขยายผลกระทบทางสังคมที่เกิดขึ้น ดังที่ สำนักงานสร้างเสริมกิจการเพื่อสังคมแห่งชาติ (สกส.) (2562) ระบุไว้ว่าลักษณะสำคัญของกิจการเพื่อสังคม ประกอบด้วย 1) มีเป้าหมายทางสังคมและสิ่งแวดล้อม 2) มีรูปแบบการดำเนินการที่มีความยั่งยืนทางการเงินเป็นมิตรต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม 3) ผลกำไรกลับคืนสู่สังคม และเป้าหมายที่กำหนดไว้ และ 4) ดำเนินการอย่างโปร่งใส มีธรรมาภิบาล ทั้งนี้ ภาคอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการบริการได้ให้ความสำคัญ และตระหนักถึงการตอบแทนผลกำไรคืนสู่สังคมมากขึ้น จากการร่วมเป็นส่วนหนึ่งของการสร้างความยั่งยืนในชุมชนท้องถิ่น ประกอบกับกับการเรียนการสอนในหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาพัฒนาการท่องเที่ยว ได้มุ่งผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ มีทักษะทางด้านการพัฒนาการท่องเที่ยว ตามเกณฑ์การท่องเที่ยวยั่งยืนโลก (Global Sustainable Tourism Criteria : GSTC) และสามารถปรับตัวตามสภาวะแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับการท่องเที่ยว ด้วยเหตุนี้ ทางหลักสูตรจึงได้จัดทำโครงการผู้ประกอบการเพื่อสังคมรุ่นเยาว์ (TD Young Social Entrepreneurs) เพื่อให้นักศึกษาได้ลงพื้นที่ศึกษาดูงานในกิจการเพื่อสังคมต้นแบบ และเป็นพื้นที่ Social Lab ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันเกี่ยวกับการประกอบกิจการเพื่อสังคม และนำความรู้ ทักษะที่ได้รับไปต่อยอดในการออกแบบแผนธุรกิจ (Business Model) กิจการเพื่อสังคมอย่างยั่งยืน

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อสร้างความเข้าใจในหลักการพื้นฐาน แนวคิด องค์ประกอบของการประกอบการเพื่อสังคม รวมทั้งทัศนคติและคุณลักษณะของผู้ประกอบการเพื่อสังคมที่ดี
เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจในกระบวนการและเครื่องมือในการออกแบบการบริการของกิจการเพื่อสังคม
เพื่อพัฒนาทักษะ และเสริมสร้างศักยภาพในการพัฒนาต้นแบบธุรกิจเพี่อสังคมอย่างยั่งยืนของนักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ ได้รับการพัฒนาทักษะ เสริมแนวคิด ตลอดจนศักยภาพพื้นฐานของการเป็นผู้ประกอบการบนพื้นฐานหลักการของการพัฒนาที่ยั่งยืน
KPI 1 : ร้อยละของนักศึกษากลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : จำนวนแผนธุรกิจเพื่อสังคม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ผลงาน 1
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ ได้รับการพัฒนาทักษะ เสริมแนวคิด ตลอดจนศักยภาพพื้นฐานของการเป็นผู้ประกอบการบนพื้นฐานหลักการของการพัฒนาที่ยั่งยืน
ชื่อกิจกรรม :
การศึกษาดูงานกิจการเพื่อสังคม

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 03/02/2567 - 04/02/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.เกวลิน  หนูสุทธิ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 35 บาท x 35 คน x 1 มื้อ x 2 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 2,450.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,450.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถพร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 800 บาท x 4 คัน x 2 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 6,400.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าของที่ระลึกสำหรับวิทยากร จำนวน 1,000 บาท x 2 ชิ้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 2,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 10850.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล