21326 : โครงการแข่งขันและพัฒนาทักษะทางวิชาการด้านการพัฒนาชุมชน
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 26/1/2567 11:02:41
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/02/2567  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  13  คน
รายละเอียด  นักศึกษาและอาจารย์ประจำสาขาวิชาการจัดการชุมชน มหาวิทาลัยแม่โจ้-แพร่ฯ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน เบิกจ่ายจากงบประมาณจัดสรรสาขาวิชา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ฯ 2567 5,500.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. จันทร์จิรา  นันตา
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.1.8 จำนวนรางวัลที่นักศึกษา บุคลากร ศิษย์เก่า หรือส่วนงาน ได้รับในระดับชาติ หรือนานาชาติ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.1.8.1 พัฒนาทักษะนักศึกษาทั้งด้าน Hard Skills และ Soft Skills โดยเฉพาะที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยให้ความสำคัญคือ GO Eco U.
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-1 การเสริมสร้างวิชาการและทักษะวิชาชีพที่ทันสมัย และทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก
เป้าประสงค์ 67-1.3 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 67-1.3.6 จำนวนรางวัลที่นักศึกษา บุคลากร ศิษย์เก่า หรือส่วนงาน ได้รับในระดับชาติ หรือนานาชาติ
กลยุทธ์ 67-1.3.6.1 ส่งเสริมให้นักศึกษา บุคลากร และศิษย์เก่า เข้าร่วมการแข่งขันต่างๆในระดับชาติและนานาชาติ ทั้งที่เป็นรางวัลด้านวิชาการ งานสร้างสรรค์ และไม่ใช่รางวัลด้านวิชาการ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

การประชุมวิชาการการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นและสังคม "CSD สัมพันธ์" เกิดจากความร่วมมือของมหาวิทยาลัยที่มีหลักสูตรการเรียนการสอนด้านการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นและสังคม และได้มีการจัดการประชุมขึ้นเป็นประจำทุกปี เพื่อให้อาจารย์และนักศึกษาได้มีโอกาสพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์ทางด้านวิชาการและวิชาชีพ สาขาวิชาการจัดการชุมชน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ เป็นสาขาวิชาที่มีการเรียนการาอนด้านการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นและสังคม มีการบูรณาการศาสตร์ความรู้ที่หลากหลายเพื่อให้บัณฑิตมีความรู้ความสามารถและทักษะในทุกๆด้านเพื่อการพัฒนาชุมชนอย่างเป็นองค์รวม ดังนั้น สาขาวิชาการจัดการชุมชนจึงเล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดโครงการแข่งขันและพัฒนาทักษะวิชาการด้านการพัฒนาชุมชน เพี่อให้นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการชุมชน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ฯ ได้เข้าร่วมการแข่งขันและพัฒนาทักษะด้านพัฒนาชุมชนท้องถิ่นและสังคม ในการประชุมวิชาการ “เครือข่ายพัฒนาชุมชนท้องถิ่นและสังคมระดับชาติ CSD สัมพันธ์ ครั้งที่ 22” ในระหว่างวันที่ 1-3 กุมภาพันธ์ 2567 ณ หอประชุมทีปังกรรัศมีโชติ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ศูนย์แม่ริม อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ อันจะก่อให้เกิดประโยชน์ และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในการเรียนและประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ทางวิชาการและวิชาชีพด้านพัฒนาชุมชนท้องถิ่นและสังคมของนักศึกษาและอาจารย์สาขาวิชาการจัดการชุมชน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ฯ ร่วมกับเครือข่ายพัฒนาชุมชนท้องถิ่นและสังคมที่เข้าร่วมการประชุมวิชาการ “เครือข่ายพัฒนาชุมชนท้องถิ่นและสังคมระดับชาติ CSD สัมพันธ์ ครั้งที่ 22”
2. เพื่อเปิดโอกาสให้นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการชุมชน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ฯ ได้เข้าร่วมการแข่งขันและพัฒนาทักษะวิชาการในระดับชาติ
3. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการชุมชน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ฯ
4. เพื่อเป็นประโยชน์และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้และประสบการณ์ในวิชาชีพของนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการชุมน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ฯ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : โครงการแข่งขันและพัฒนาทักษะทางวิชาการด้านการพัฒนาชุมชน
KPI 1 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
13 คน 13
KPI 2 : ร้อยละของผลการดำเนินงานเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ร้อยละของโครงการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : จำนวนรางวัลที่นักศึกษาได้รับในระดับชาติ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3 รางวัล 3
KPI 5 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : โครงการแข่งขันและพัฒนาทักษะทางวิชาการด้านการพัฒนาชุมชน
ชื่อกิจกรรม :
เข้าร่วมการแข่งขันและพัฒนาทักษะวิชาการด้านการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นและสังคม "CSD สัมพันธ์"

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/02/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.จันทร์จิรา  นันตา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ปณิธี  บุญสา (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ดวงพร  เพิ่มสุวรรณ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มัชฌิมา  ศุภวิมลพันธ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.รัชนีวรรณ  คำตัน (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิกานดา  ใหม่เฟย (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง
1.1 ค่าเบี้ยเลี้ยงสำหรับพนักงานขับรถ จำนวน 1 คน ๆ ละ 3 วัน ๆ ละ 240 บาท เป็นเงิน 720 บาท
1.2 ค่าพาหนะ (รถยนต์) ระยะทางไป-กลับ จำนวน 1 คัน ๆ ละ 500 กิโลเมตรๆ ละ 4 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท
1.3 ค่าที่พักสำหรับพนักงานขับรถ เป็นเงิน 800 บาท
1.4 ค่าที่พักสำหรับนักศึกษาและอาจารย์ที่เข้าร่วมโครงการ เป็นเงิน 1,980 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 5,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 5500.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
รายวิชา 11205205 ระบบคิดและการออกแบบกับการสร้างนวัตกรรมชุมชน รายวิชา กช300 ระเบียบวิธีวิจัยในการพัฒนาชุมชน รายวิชา กช212 นโยบายสาธารณะเพื่อการบริหารจัดการชุมชน
ช่วงเวลา : 01/02/2567 - 30/09/2567
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล