21323 : โครงการพัฒนาศักยภาพด้านการสอนสำหรับพยาบาลพี่เลี้ยง
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
อาจารย์ ดร.ขนิษฐา วิศิษฏ์เจริญ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 4/3/2567 10:23:36
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
13/05/2567  ถึง  17/05/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  80  คน
รายละเอียด  1. ผู้บริหารมหาวิทยาลัย 2. ผู้บริหารคณะพยาบาลศาสตร์ และที่ปรึกษา 3. บุคลากรของคณะ 4. วิทยากรภายนอก 5. พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาล จำนวน 50 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะพยาบาลศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนงานบริการวิชาการแก่สังคม งานบริการวิชาการแก่ชุมชน กองทุนบริการวิชาการ งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป โครงการตามแผนปฏิบัติการมหาวิทยาลัย (มิติที่ 2) โครงการพัฒนาศักยภาพด้านการสอนสำหรับพยาบาลพี่เลี้ยง 2567 112,300.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. ขนิษฐา  วิศิษฏ์เจริญ
อาจารย์ เบญจมาศ  ถาดแสง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จริยาพร  ศรีสว่าง
อาจารย์ ศุภวรรณ  ใจบุญ
อาจารย์ หยาดพิรุณ  เสาร์เป็ง
นาง รัตนา  กันตีโรจน์
นาย ศักดิ์นรินทร์  แก่นกล้า
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
นาง มาลี  ล้วนแก้ว
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะพยาบาลศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 1.1 ความสำเร็จของการบริหารจัดการและพัฒนามหาวิทยาลัยตามนโยบายสภามหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 1.1.1 ร้อยละความสำเร็จของการขับเคลื่อนการดำเนินงานตามนโยบายสภามหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 67-70 MJU 1.1.1.1 สนับสนุนและขับเคลื่อนการดำเนินงานตามนโยบายสภามหาวิทยาลัยทุกด้านให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.1.6 ผลการประกันคุณภาพภายใน
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.1.6.1 สนับสนุนให้มีการพัฒนา ผลักดันการดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในที่เน้นการจัดการศึกษา การวิจัย การบริการวิชาการแก่สังคม และการบริหารจัดการด้วยเกณฑ์มาตรฐานระดับอาเซียน อย่างต่อเนื่อง
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.3.2 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.3.2.1 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก MOC
เป้าประสงค์ พยบ67-2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับชาติ
ตัวชี้วัด พยบ67-2.1.2 ผลการประกันคุณภาพภายใน (ม-2.1.6)
กลยุทธ์ พยบ67-2.1 พัฒนาคุณภาพของบัณฑิตตรงตามความต้องการของตลาดแรงงานและเป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพการพยาบาล
เป้าประสงค์ พยบ67-2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับชุมชน/ชาติ
ตัวชี้วัด พยบ67-2.3.3 จำนวนชุมชน/หน่วยงาน ที่ได้รับบริการวิชาการจากคณะ
กลยุทธ์ พยบ67-2.3 สนับสนุนและขับเคลื่อนการให้บริการวิชาการแก่ชุมชน
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้เปิดการเรียนการสอนหลักสูตรพยาบาลศาสตร์บัณฑิต โดยมีการกำหนดให้นักศึกษาได้ เรียนรู้ในสถานการณ์จริง (Authentic learning) จากการฝึกภาคปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยหรือผู้รับบริการในสถานบริการสุขภาพ และดูแลสุขภาพของประชาชนในชุมชน ภายใต้การนิเทศของคณาจารย์และบุคลากรพยาบาลในแหล่งฝึก ซึ่งการฝึกภาคปฏิบัตินั้น จัดได้ว่าเป็นหัวใจสำคัญของการจัดการศึกษา และบุคลากรพยาบาลในแหล่งฝึกเป็นผู้ที่มีความสำคัญอย่างมากต่อการเรียนรู้ของนักศึกษา เพราะจะช่วยสนับสนุนการเรียนรู้ของนักศึกษาให้เกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพ จะเห็นได้ว่า บุคลากรพยาบาลในแหล่งฝึกมีบทบาทหน้าที่ในด้านการสอนและพัฒนาทักษะการปฏิบัติการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาลโดยมีบทบาทเป็นพยาบาลพี่เลี้ยงในการติดตามนิเทศการปฏิบัติงานของนักศึกษา ดังนั้น การพัฒนาศักยภาพด้านการสอนสำหรับพยาบาล จึงเป็นความจำเป็นที่จะช่วยสนับสนุนการปฏิบัติบทบาทด้านนี้ของพยาบาลประจำการให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ซึ่งจะส่งผลต่อการผลิตพยาบาลที่มีคุณภาพให้แก่สังคม คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้เล็งเห็นความสำคัญบทบาทพยาบาลในแหล่งฝึก ซึ่งเป็นแหล่งประโยชน์ด้านความรู้ และความเชี่ยวชาญในการดูแลผู้รับบริการกลุ่มต่างๆ ในขณะที่นักศึกษาพยาบาลขึ้นฝึกปฏิบัติการพยาบาล ดังนั้น คณะพยาบาลศาสตร์ จึงได้ร่วมมือกับสำนักวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ซึ่งเป็นสถาบันการศึกษาพี่เลี้ยงของคณะ จัด “โครงการพัฒนาศักยภาพการสอนสำหรับพยาบาลพี่เลี้ยง” เพื่อพัฒนาศักยภาพ “พยาบาลพี่เลี้ยง” สำหรับพยาบาลในแหล่งฝึกให้มีความเชี่ยวชาญด้านการสอนในคลินิกและแสดงบทบาทของพยาบาลพี่เลี้ยงในด้านการสอน การนิเทศและส่งเสริมศักยภาพและเจตคติที่ดีของนักศึกษาพยาบาล รวมถึงเป็นการพัฒนาความร่วมมือระหว่างสถาบันการศึกษาและสถานบริการพยาบาลในการผลิตนักศึกษาพยาบาลให้เป็นบัณฑิตที่พึงประสงค์ตามกรอบมาตรฐานวิชาชีพต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านการสอนพยาบาลสำหรับพยาบาลครูพี่เลี้ยง
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผู้เข้ารับการอบรมได้พัฒนาศักยภาพด้านการสอนพยาบาลสำหรับพยาบาลครูพี่เลี้ยงจากสถานบริการสุขภาพ
KPI 1 : ผู้เข้ารับการอบรม มีความพึงพอใจในโครงการภาพรวม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ผู้เข้ารับการอบรม สามารถอธิบายแนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้และหลักการเรียนการสอนในสถานการณ์จริงได้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ผู้เข้ารับการอบรม สามารถอธิบายหลักการ กระบวนการสอนในคลินิกและแผนการสอน ใปใช้ในการสอนนักศึกษาที่ขึ้นฝึกภาคปฏิบัติในแหล่งฝึกได้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : ผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้ความเข้าใจในหลักการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรพยาบาล ศาสตรบัณฑิต ของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : ผู้เข้ารับการอบรม สามารถอธิบายแนวคิดเกี่ยวกับระบบสุขภาพ กระบวนการพยาบาลและการเขียนแผนการพยาบาลได้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : ผู้เข้ารับการอบรม สามารถใช้วิธีการสอนในคลินิก/ หรือชุมชนแบบต่างๆ เพื่อพัฒนาทักษะการปฏิบัติการพยาบาลให้แก่นักศึกษาพยาบาลได้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 7 : ผู้เข้ารับการอบรมได้พัฒนาศักยภาพด้านการสอนพยาบาลสำหรับพยาบาลครูพี่เลี้ยงจากสถานบริการสุขภาพ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผู้เข้ารับการอบรมได้พัฒนาศักยภาพด้านการสอนพยาบาลสำหรับพยาบาลครูพี่เลี้ยงจากสถานบริการสุขภาพ
ชื่อกิจกรรม :
โครงการพัฒนาศักยภาพด้านการสอนสำหรับพยาบาลพี่เลี้ยง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 27/05/2567 - 01/06/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ขนิษฐา  วิศิษฏ์เจริญ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ศุภวรรณ  ใจบุญ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จริยาพร  ศรีสว่าง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์หยาดพิรุณ  เสาร์เป็ง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์เบญจมาศ  ถาดแสง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางรัตนา  กันตีโรจน์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.ศกุนตลา  จินดา (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.สาวิตรี  ทิพนี (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายศักดิ์นรินทร์  แก่นกล้า (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่ารับรองกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง การประชุม/สัมมนา/อภิปราย/บรรยาย จำนวน 2,000 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 80 คนๆ ละ 100 บาท 1 มื้อ จำนวน 5 วัน เป็นเงิน 40,000 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 80 คนๆ ละ 35 บาท 2 มื้อ จำนวน 5 วัน เป็นเงิน 28,000 บาท
- ค่าจ้างเหมารถพร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 2 วันๆละ 2,800 บาท 1 คัน 1ครั้ง เป็นเงิน 5,600 บาท
- ค่าที่พักวิทยากร 1 คน 1 คืน 1 ห้อง ๆ ละ 1,400 บาท เป็นเงิน 1,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 77,000.00 บาท 0.00 บาท 77,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
- ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 1 คน 2 ชม. ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
- ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 1 คน 5 ชม. ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
- ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 1 คน 5 ชม. ๆ ละ 1,200 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท
- ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 1 คน 3 ชม. ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
- ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 1 คน 6 ชม. ๆ ละ 1,200 บาท เป็นเงิน 7,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 19,200.00 บาท 0.00 บาท 19,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
- ค่าวัสดุ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 16,100.00 บาท 0.00 บาท 16,100.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 112300.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล