21301 : โครงการอบรมเทคนิคการสกัดและการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำมันหอมระเหยเบื้องต้น
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/04/2567  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  40  คน
รายละเอียด  1) นักศึกษา บุคลากร มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ฯ 2) นักวิจัย 3) นักเรียน 4) ประชาชนทั่วไป 5) ผู้ประกอบการ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน รายรับจากการจัดเก็บค่าลงทะเบียนของผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 20 คน ๆ ละ 1,900 บาท เป็นเงิน 38,000 บาท 2567 41,600.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ฉันทนา  ซูแสวงทรัพย์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
นโยบายด้านทรัพย์สิน การเงิน และการลงทุน
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 5. การสร้างความมั่นคงทางงบประมาณและทรัพยากรอย่างยั่งยืน (Budget and Resource Sustainability)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 5.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีความมั่นคงทางงบประมาณและทรัพยากรอย่างยั่งยืน
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 5.1.2 จำนวนเงินรายได้จากการให้บริการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 5.1.2.5 ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรหรือหน่วยงานให้บริการวิชาการเพื่อก่อให้เกิดรายได้
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-6 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
เป้าประสงค์ 67-6.4 ความมั่นคงทางงบประมาณและทรัพยากรอย่างยั่งยืน (Budget and Resource Sustainability)
ตัวชี้วัด 67-6.4.2 จำนวนเงินรายได้จากการให้บริการ
กลยุทธ์ 67-6.4.2.1 ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรหรือหน่วยงานให้บริการเพื่อก่อให้เกิดรายได้
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

สารหอม หรือ น้ำมันหอมระเหย และสารสำคัญในสารสกัดจากพืชและสมุนไพร เป็นสารทุติยภูมิที่พืชหรือสมุนไพรสร้างขึ้น สารสกัดจากพืชสมุนไพรมีความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระ มีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อจุลินทรีย์หลาหลายชนิด และมีฤทธิ์ในการต้านการอักเสบที่ดี น้ำมันหอมระเหยเป็นสารประกอบในกลุ่มเทอร์ปีนอยด์ สามารระเหยง่ายและสลสยตัวได้ง่ายเมื่อถูกความร้อนสูง ดังนั้น ในขั้นตอนการสกัดจึงมีหลักการเลือกใช้วิธีการสกัดหรือข้อควรระวังหลายประการ เช่น ปริมาณวัตถุ ชนิดพืชหรือสมุนไพร การเตรียมวัตถุดิบ เป็นต้น เพื่อให้ได้น้ำมันหอมระเหยในปริมาณสูงและคงสารสำคัญไว้ในน้ำมันหอมระเหยที่สกัดได้ และสามารถนำไปใช้พัฒนาผลิตภัณฑ์ต่อไป นอกจากนี้ ยังเป็นสิ่งสนับสนุนความน่าเชื่อถือให้แก่ผลผลิตทางการเกษตร คือ สารหอมเฉพาะของผลผลิตทางการเกษตร ซึ่งในการขอมาตรฐานผลผลิตทางการเกษตร น้ำมันหอมระเหย หรือ ผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมของน้ำมันหอมระเหย จำเป็นต้องมีการทำคุณภาพวิเคราะห์ของน้ำมันหอมระเหย ด้วยนโยบายของประเทศไทย ต้องการส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพภายใต้หลัก BCG Model มีการใช้เทคโนโลยีในการศึกษาและพัฒนา เพื่อยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ด้วยผลการวิเคราะห์ หรือผลงานวิจัย ด้วยข้อมูลพื้นฐาน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ หรือใช้ยืนยันคุณภาพของผลผลิตทางการเกษตรปลอดภัย เกษตรอินทรีย์ และผลิตภัณฑ์แปรรูปจากผลผลิตทางการเกษตร ก่อให้เกิดผลิตภัณฑ์มูลค่าสูง นอกจากนี้ ผลการวิเคราะห์หรือผลงานวิจัยยังสามารถสร้างความมั่นใจให้แก่ผู้บริโภค และเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันการตลาดให้แก่ผู้ประกอบการ เป็นการสนับสนุนให้เกิดผู้ประกอบการที่มีศักยภาพในการสร้างผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการยอมรับมากยิ่งขึ้น

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจ และทักษะการปฏิบัติการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากพืชเบื้องต้น
2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจ และทักษะการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำมันหอมระเหยจากพืชเบื้องต้น
3. เพื่อสร้างรายได้จากการบริการวิชาการให้แก่ส่วนงาน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : เทคนิคการสกัดและการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำมันหอมระเหยเบื้องต้น
KPI 1 : ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะปฏิบัติการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากพืชเบื้องต้น
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจและทักษะการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำมันหอมระเหยจากพืชเบื้องต้น
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
40 คน 40
KPI 4 : จำนวนเงินรายได้ที่เกิดจากการบริการวิชาการ คงเหลือ (กำไร) ที่นำส่งส่วนงาน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
34000 บาท 34000
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : เทคนิคการสกัดและการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำมันหอมระเหยเบื้องต้น
ชื่อกิจกรรม :
1) อบรมเชิงปฏิบัติการ "เทคนิคการสกัดน้ำมันหอมระเหยและการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำมันหอมระเหยเบื้องต้น" (รุ่นที่ 1)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/04/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉันทนา  ซูแสวงทรัพย์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ขวัญจรัส  เชิงปัญญา (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อภิรดี  เสียงสืบชาติ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.จิรพงศ์  ศรศักดานุภาพ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.วาศิณี  ปานจันทร์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.วิลาสินี  บุญธรรม (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.วัชรี  เลขะวิพัฒน์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.รรินธร  ธรรมกุลกระจ่าง (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 2 วัน ๆ ละ 25 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 3,500 บาท
2. ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 2 วัน ๆ ละ 25 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 60 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
3. ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสารประกอบการอบรม จำนวน 20 ชุด ๆ ละ 70 บาท เป็นเงิน 1,400 บาท
4. ค่าจ้างเหมาจัดทำใบประกาศนียบัตร จำนวน 20 ใบ ๆ ละ 15 บาท เป็นเงิน 300 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 8,200.00 บาท 0.00 บาท 8,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 3 คน ๆ ละ 2 วัน ๆ ละ 200 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,200.00 บาท 0.00 บาท 1,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุการเกษตร เป็นเงิน 2,500 บาท
2. ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เป็นเงิน 2,500 บาท
3. ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์และการแพทย์ เป็นเงิน 6,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 11,400.00 บาท 0.00 บาท 11,400.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 20800.00
ชื่อกิจกรรม :
2) อบรมเชิงปฏิบัติการ "เทคนิคการสกัดและการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำมันหอมระเหยเบื้องต้น" (รุ่นที่ 2)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/04/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉันทนา  ซูแสวงทรัพย์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ขวัญจรัส  เชิงปัญญา (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อภิรดี  เสียงสืบชาติ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.จิรพงศ์  ศรศักดานุภาพ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.วาศิณี  ปานจันทร์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.วิลาสินี  บุญธรรม (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.วัชรี  เลขะวิพัฒน์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.รรินธร  ธรรมกุลกระจ่าง (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 2 วัน ๆ ละ 25 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 3,500 บาท
2. ค่าอหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 2 วัน ๆ ละ 25 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 60 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
3. ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสารประกอบการอบรม จำนวน 20 ชุด ๆ ละ 70 บาท เป็นเงิน 1,400 บาท
4. ค่าจ้างเหมาจัดทำใบประกาศนียบัตร จำนวน 20 ใบ ๆ ละ 15 บาท เป็นเงิน 300 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 8,200.00 บาท 0.00 บาท 8,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 3 คน ๆ ละ 2 วัน ๆ ละ 200 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,200.00 บาท 0.00 บาท 1,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุเกษตร เป็นเงิน 2,500 บาท
2. ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เป็นเงิน 2,500 บาท
3. ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์และการแพทย์ เป็นเงิน 6,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 11,400.00 บาท 0.00 บาท 11,400.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 20800.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
รายวิชาแกนหลักทางวิทยาศาสตร์ เช่น คม 100 (เคมีทั่วไป) คม 210 (เคมีวิเคราะห์) คม 250 (เคมีอินทรีย์) และ รายวิชาทางสังคมศาสตร์ เช่น ตล 370 (การตลาดระดับโลกสำหรับสินค้าและบริการชุมชน)
ช่วงเวลา : 01/04/2567 - 30/09/2567
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล