21294 : โครงการผลิตหัวเชื้อเห็ดป่าไมคอร์ไรซา
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
12/02/2567  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  15  คน
รายละเอียด  นักศึกษา บุคลากรมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ฯ หน่วยงาน ชุมชน และผู้ที่สนใจทั่วไป
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน 2567 10,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วรรณา  มังกิตะ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
นโยบายด้านทรัพย์สิน การเงิน และการลงทุน
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 5. การสร้างความมั่นคงทางงบประมาณและทรัพยากรอย่างยั่งยืน (Budget and Resource Sustainability)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 5.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีความมั่นคงทางงบประมาณและทรัพยากรอย่างยั่งยืน
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 5.1.2 จำนวนเงินรายได้จากการให้บริการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 5.1.2.5 ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรหรือหน่วยงานให้บริการวิชาการเพื่อก่อให้เกิดรายได้
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-6 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
เป้าประสงค์ 67-6.4 ความมั่นคงทางงบประมาณและทรัพยากรอย่างยั่งยืน (Budget and Resource Sustainability)
ตัวชี้วัด 67-6.4.2 จำนวนเงินรายได้จากการให้บริการ
กลยุทธ์ 67-6.4.2.1 ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรหรือหน่วยงานให้บริการเพื่อก่อให้เกิดรายได้
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ได้มีปรัชญาการศึกษา ที่จะมุ่งพัฒนาบัณฑิตที่อุดมไปปัญญา อดทน สู้งาน เป็นผู้ที่มีคุณธรรมและจริยธรรม เพื่อสร้างความรุ่งเรืองวัฒนาให้สังคมไทยที่มีการเกษตรเป็นรากฐาน นอกจากนั้นมหาวิทยาลัยยังมีวิสัยทัศน์ที่ต้องพัฒนาขีดความของตัวเองให้มีความเป็นเลิศทางด้านวิชาการเกษตร เป็นแหล่งเรียนรู้เชิงบูรณาการ และถ่ายทอดนวัตกรรมด้านการเกษตรสู่ชุมชน ฐานเรียนรู้เห็ดป่าไมคอร์ไรซา สังกัดศูนย์สมุนไพร มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ มีพื้นที่สำหรับการเรียนการสอน การศึกษาวิจัย และถ่ายทอดองค์ความรู้เพื่อบริการวิชาการให้กับหน่วยงาน ชุมชน ผู้ที่สนใจ และมีการใช้ประโยชน์ในการประกอบการเรียนการสอนในรายวิชาของสาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพอุตสาหกรรมเกษตร สาขาวิชาการจัดการป่าไม้ โดยพื้นที่ดังกล่าวสามารถใช้เป็นสถานที่ฝึกทักษะ และพื้นฐานการทำหัวเชื้อเห็ดป่าไมคอร์ไรซาได้ ดังนั้น นอกจากการจัดทำโครงการเพื่อให้นักศึกษาใช้เวลาว่างจากการเรียนให้เป็นประโยชน์ และเป็นการหารายได้ให้กับนักศึกษา โดยใช้องค์ความรู้ในรายวิชาที่ได้เรียนมาในการปฏิบัติจริง เพื่อการเพาะหัวเชิ้อเห็ดป่าไมคอร์ไรซาสามารถนำไปใส่กล้าไม้ป่า ไม้ผล พืชสมุนไพร พืชเกษตร พืชผักต่างๆ ได้หลากหลาย สอดคล้องกับนโยบายของมหาวิทยาลัยที่มุ่งการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว โดยเห็ดป่าไมคอร์ไรซามีการดำรงชีวิตแบบพึ่งพาอาศัยเกื้อกูลกันของเส้นใยเห็ดที่เจริญบริเวณรากของพืช มีประโยชน์คือ เส้นใยเห็ดที่เจริญห่อหุ้มรากพืชช่วยย่อยสลายอินทรียวัตถุในดินส่งให้รากพืช เพิ่มพื้นที่ผิวในการดูดซึมน้ำและธาตุอาหารของพืช ใบเขียวเงางาม แตกกิ่งและใบเร็วขึ้น ทำให้พืชมีการเจริญเติบโตมากกว่าปกติ 2-3 เท่า ออกดอก ติดผลเพิ่มขึ้น ช่วยยับยั้งการเจริญเติบดตของราโรคพืชที่เกิดกับราก ช่วยให้พืชรอดชีวิตเมื่อเจริญในดินที่มีความเป็นกรดสูง ดินเค็ม ดินที่ขาดธาตุอาหาร และทำให้พืชทนแล้งได้ดียิ่งขึ้น เป็นต้น ในขณะที่เส้นใยเห็ดจะได้รับสารอาหารที่จำเป็น เช่น น้ำตาล กรดอะมิโน และวิตามินจากรากพืช ทำให้เส้นใยของเห็ดเจริญเติบโตรวมกันออกมาเป็นดอกเห็ดในสภาพอากาศร้อนชื้น ซึ่งเป็นการส่งเสริมอาชีพให้ชุมชน และเป็นการผลิตพืชให้เป็นสินค้าเกษตรที่มีความปลอดภัยและหันมาใส่ใจสุขภาพ ผลิตอาหารที่ปลอดภัย มีความเป็นเกษตรอินทรีย์ ลดการใช้ยาฆ่าแมลง สารเคมีในการปลูก รวมไปถึงการใส่ใจสิ่งแวดล้อมอีกทางหนึ่ง อีกทั้งยังเป็นการผลิตเพื่อจำหน่ายเป็นผลิตภัณฑ์มหาวิทยาลัย ซึ่งมีฐานลูกค้าเดิมอยู่แล้ว และเพิ่มกลุ่มลูกค้าใหม่ เพื่อสร้างรายได้แก่มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ฯ ด้วย

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อสร้างรายได้จากการผลิตหัวเชื้อเห็ดไมคอร์ไรซาของฐานเรียนรู้เห็ดป่าไมคอร์ไรซา สังกัดศุนย์สมุนไพร มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ฯ
2. เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีการปลูกพืชเศรษฐกิจร่วมกับการเพาะเห็ดป่าไมคอร์ไรซาแก่ผู้ที่สนใจ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตหัวเชื้อเห็ดป่าไมคอร์ไรซา
KPI 1 : จำนวนเงินรายได้ที่เกิดจากการบริการวิชาการ คงเหลือ (กำไร) ที่นำส่งส่วนงาน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
5000 บาท 5000
KPI 2 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 3 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10000 บาท 10000
KPI 4 : ร้อยละความพึงพอใจด้านประโยชน์และอาชีพของผู้เข้ารับการอบรม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
15 คน 15
KPI 6 : ผู้เข้ารับการอบรมที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับการบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตหัวเชื้อเห็ดป่าไมคอร์ไรซา
ชื่อกิจกรรม :
การอบรมเพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตหัวเชื้อเห็ดป่าไมคอร์ไรซา

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 12/02/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรรณา  มังกิตะ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประดุง  สวนพุฒ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ปิยะพิศ  ขอนแก่น (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายปิยะบุตร  โพธิคามบำรุง (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 20 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 100 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 20 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 1,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,400.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์และการแพทย์ เป็นเงิน 6,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 6,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,600.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 10000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
การนำนักศึกษาไปฝึกฝนในห้องปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมตาม มคอ.3 ในรายวิชาเทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมเกษตร (ทช 212) ของนักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพอุตสาหกรรมเกษตร และ วิชาการประยุกต์หลักภูมิสังคมในการจัดการป่าไม้ (ปม 541) วิชาเทคโนโลยีการฟื้นฟูป่าไม้ (ปม 642) ของนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการป่าไม้
ช่วงเวลา : 12/02/2567 - 30/09/2567
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล