21291 : โครงการนวัตกรรมงานวิจัยสู่ความเป็นผู้ประกอบการยุคใหม่
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 18/1/2567 13:57:36
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
05/02/2567  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  200  คน
รายละเอียด  บุคลากร นักวิจัย นักเรียนและนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ฯ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน 2567 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
น.ส. ฉลวย  จันศรี
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 4. การพลิกโฉมสู่การเป็นมหาวิทยาลัยกลุ่มที่ 2 (Reinventing University)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 4.1 เป็นมหาวิทยาลัยด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างวัตกรรม (Technology Development and Innovation)
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 4.1.1 นักศึกษาและบัณฑิตผู้ประกอบการ ที่ได้รับการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 4.1.1.1 สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้สามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดเป็นนวัตกรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-6 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
เป้าประสงค์ 67-6.3 การพลิกโฉมมหาวิทยาลัย (Reinventing)
ตัวชี้วัด 67-6.3.1 นักศึกษาและบัณฑิตผู้ประกอบการที่ได้รับการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 67-6.3.1.1 สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้สามารถนำองค์ความรู้มา ประยุกต์ใช้สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดเป็นนวัตกรรม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

การพลิกโฉมสถาบันอุดมศึกษา (Reinventing University) คือ การปฏิรูปสถาบันอุดมศึกษาให้สามารถจัดการศึกษา วิจัย และผลิตบัณฑิตให้ตอบโจทย์ความต้องการของประเทศตามศักยภาพและความถนัด เพื่อเป็นหัวจักรในการพัฒนาประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม อันนำไปสู่ความยั่งยืน สิ่งที่สถาบันอุดมศึกษาจำเป็นต้องทำคือการปฏิรูประบบการบริหาร ปรับเปลี่ยนหลักสูตรและการเรียนการสอนให้ทันสมัย ผลิตกำลังคนคุณภาพสูงทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้เป็นผู้มีความคิด ริเริ่มสร้างสรรค์ มีปัญญาและคุณธรรม ยกระดับการวิจัยและสร้างนวัตกรรมให้มีความเป็นเลิศ รวมทั้งเพิ่มขีดความสามารถในการเป็นผู้ประกอบการของบัณฑิต (Entrepreneur) และเพิ่มโอกาส “การเรียนรู้ตลอดชีวิต” ของคนทุกช่วงวัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้- แพร่ เฉลิมพระเกียรติ เปิดหลักสูตรโดยมีหลักสูตรและการเรียนการสอนที่ตอบสนองต่อความต้องการประเทศ และสอดคล้องความเป็นมหาวิทยาลัยกลุ่มที่ 2 มีการปรับเปลี่ยนการเรียนการสอนเพื่อรองรับการสร้างผู้ประกอบการ พัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่ การผลิตและพัฒนานักศึกษาให้มีคุณภาพ โดยมีคณาจารย์ที่สรรสร้างงานวิจัยและนวัตกรรมที่มีคุณภาพตามความเชี่ยวชาญของแต่ละท่าน แต่ละหลักสูตร มาใช้ในการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาและสร้างนักศึกษาและบัณฑิตให้มีคุณภาพประกอบอาชีพตามความถนัดของตนเองและเป็นกำลังแรงงานที่มีคุณภาพในการพัฒนาประเทศต่อไป โครงการนวัตกรรม งานวิจัยสู่ความเป็นผู้ประกอบการยุคใหม่ จึงเป็นการนำเสนอหลักสูตร เปิดบ้านของมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ โดยนักศึกษาและอาจารย์แต่ละหลักสูตรได้เผยแพร่ และถ่ายทอดผลงาน องค์ความรู้ด้านนวัตกรรม เทคโนโลยี งานวิจัย ที่สร้างรายได้ ปรับเปลี่ยนกระบวนการทำงาน การนำองค์ความรู้ไปประยุกต์ใช้สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ต่อยอดเป็นนวัตกรรม ที่นำไปสู่ความเป็นผู้กอบการยุคใหม่ มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อประชาสัมพันธ์หลักสูตรด้านการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ (Open House) และเผยแพร่ผลงานวิจัย องค์ความรู้ นวัตกรรมและเทคโนโลยีของนักศึกษา และอาจารย์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ฯ
2. เพื่อเป็นเวทีในการแลกเปลี่ยนความรู้และสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ของนักเรียน นักศึกษาและนักวิจัยสู่ความเป็นผู้ประกอบการยุคใหม่
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : นวัตกรรมงานวิจัยสู่ความเป็นผู้ประกอบการยุคใหม่
KPI 1 : ค่าใช้จ่ายตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50000 บาท 50000
KPI 2 : ร้อยละความรู้เกี่ยวกับนวัตกรรมงานวิจัยสู่ความเป็นผู้ประกอบการยุคใหม่ที่เพิ่มขึ้นของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 ร้อยละ 50
KPI 3 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
200 คน 200
KPI 4 : จำนวนองค์ความรู้/นวัตกรรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
15 เรื่อง 15
KPI 5 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : นวัตกรรมงานวิจัยสู่ความเป็นผู้ประกอบการยุคใหม่
ชื่อกิจกรรม :
การสาธิต แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และประกวดผลงานด้านนวัตกรรมงานวิจัยสู่ความเป็นผู้ประกอบการยุคใหม่

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 05/02/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
น.ส.ฉลวย  จันศรี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าจ้างเหมาจัดทำป้ายโปสเตอร์ ขนาด 0.8x1.20 เมตร จำนวน 12 ชุด ๆ ละ 1,500 บาท เป็นเงิน 18,000 บาท
2. ค่าจ้างเหมาจัดทำป้ายโปสเตอร์ ขนาด 5x4 เมตร จำนวน 1 ชุด ๆ ละ 4,000 เป็นเงิน 4,000 บาท
3. ค่าเงินรางวัล ได้แก่
3.1 รางวัลชนะเลิศ จำนวน 2 รางวัล ๆ ละ 2,000 บาท เป็นเงิน 4,000 บาท
3.2 รางวัลรองชนะเลิศอันดับหนึ่ง จำนวน 2 รางวัลๆละ 1,500 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
3.3 รางวัลรองชนะเลิศอันดับสอง จำนวน 2 รางวัลๆละ 1,000 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 31,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 31,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุสำนักงาน เป็นเงิน 12,500 บาท
2. ค่าวัสดุเกษตร เป็นเงิน 5,500 บาท
3. ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เป็นเงิน 1,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 19,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 19,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 50000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ระยะเวลาในการจัดกิจกรรมกระชั้นชิดและด้วยข้อจำกัดด้านเวลาที่ต้องจัด ทำให้อาจส่งผลกระทบต่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ประสานงานเครือข่าย โรงเรียนและหลักสูตรให้ดี และวางแผนการจัดกิจกรรมให้ดี
แบ่งหน้าที่การทำงาน คณะกรรมการดำเนินงานให้ชัดเจนและติดตามความก้าวหน้า
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล