21279 : โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ท้องถิ่นสู่มือนักศึกษา Gen Z
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
นางอุไรภัสร์ ชัยเรืองวุฒิ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 18/1/2567 9:40:07
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการพัฒนากิจกรรมนักศึกษา (เบิกจ่ายจากงบพัฒนากิจกรรมนักศึกษา)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/02/2567  ถึง  30/08/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  100  คน
รายละเอียด  นักศึกษา และผู้ที่สนใจ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ กองส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน เงินรายได้พัฒนานักศึกษาประจำปี 2567 2567 19,200.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาง เยาวภา  เขื่อนคำ
นาง กัณณิกา  ข้ามสี่
น.ส. อรวรรณ  สุรักษ์
นาง อุไรภัสร์  ชัยเรืองวุฒิ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร. นิโรจน์  สินณรงค์
น.ส. เบญจรัตน์  ศุภอุดมฤกษ์
นาง อริศรา  สิงห์ปัน
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
กองส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม
ฝ่ายจดหมายเหตุและคอลเล็กชั่นพิเศษ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.4 เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมเกษตรและสิ่งแวดล้อม และสร้างสรรค์นวัตกรรมด้านทุนทางวัฒนธรรม
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.4.1 จำนวนโครงการ/กิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรมที่บูรณาการกับพันธกิจอื่น (การเรียนการสอน การวิจัยและบริการวิชาการ)
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.4.1.1 ส่งเสริมและสนับสนุนให้งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมหรือวัฒนธรรมการเกษตร มีการบูรณาการกับกิจกรรม นศ. การเรียนการสอน และการวิจัย
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 2. ศึกษา รวบรวมองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒธรรม และวัฒนธรรมการเกษตร
เป้าประสงค์ 67-2.1 พัฒนาศักยภาพฐานข้อมูลองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒธรรม และวัฒนธรรมการเกษตร
ตัวชี้วัด 67-2.1 จำนวนองค์ความรู้ งานวิจัย งานบริการวิชาการ ด้านศิลปวัฒธรรม และวัฒนธรรมการเกษตร ในฐานข้อมูล
กลยุทธ์ 67-2.1 รวบรวมองค์ความรู้ งานวิจัย งานบริการวิชาการด้านศิลปวัฒธรรม และวัฒนธรรมการเกษตรจากผู้เชี่ยวชาญแขนงต่าง ๆ เพื่อจัดทำฐานข้อมูล
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ศิลปวัฒนธรรม หมายถึง วิถีการดำเนินชีวิต ที่มนุษย์สร้างขึ้นมานั่นเอง ไม่ว่าจะเป็นการละเล่นการแสดง การร้องเพลง พฤติกรรม และบรรดาผลงานทั้งมวลที่มนุษย์ได้สร้างสรรค์ขึ้น ไม่ว่าจะเป็นงานด้านจิตกรรม สถาปัตยกรรม ตลอดจนความคิด ความเชื่อ ความรู้ ลักษณะที่แสดงความเจริญงอกงาม ความเป็นระเบียบความรู้สึก ความประพฤติและกิริยาอาการ หรือการกระทำใด ๆ ของมนุษย์ในส่วนรวม ลงรูปเป็นพิมพ์เดียวกันและสำแดงออกมาให้ปรากฏเป็นภาษา ศิลปะ ความเชื่อถือ ระเบียบ ประเพณี ความกลมเกลียว ความก้าวหน้าของชาติและศีลธรรมอันดีงามของประชาชน ซึ่งวัฒนธรรมของคนแต่ละภาคในประเทศไทยก็มีความเหมือนและแตกต่างกันบ้างตามแต่ละพื้นที่ของประเทศไทย รวมทั้งการสืบทอดหรืออาจมีการดัดแปลงบ้างเพื่อให้มีความเป็นสมัยนิยมมากขึ้น รวมทั้งสามารถประพฤติปฏิบัติกันได้อย่างทั่วถึงด้วย ฝ่ายจดหมายเหตุและคอลเล็กชั่นพิเศษ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยแม่โจ้ มีภาระกิจหนึ่งในการเก็บรวบรวมข้อมูลท้องถิ่น เพื่อเผยแพร่ให้กับคนรุ่นหลัง และส่งต่อวัฒนธรรมและภูมิปัญญาให้กับเด็กรุ่นใหม่ โดยการเรียนรู้ด้านภูมิปัญญาผ่านการลงมือปฏิบัติ เพื่อเสริมสร้างและอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นไว้ให้สืบต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อส่งเสริมสนับสนุนงานด้านการบำรุงศิลปะวัฒนธรม ภูมิปัญญาให้กับนักศึกษา Gen Z
เพื่อรวบรวมองค์ความรู้ด้านภูมิปัญญาท้องถิ่น และนำไปเผยแพร่
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : นำองค์ความรู้ด้านภูมิปัญญาท้องถิ่น และนำไปเผยแพร่ในเว็บไซต์ และนักศึกษาที่เข้ามาเรียนรู้มีความรู้เรื่องภูมิปัญญาท้องถิ่นมีความรู้เพิ่มมากขึ้น
KPI 1 : นักศึกษาที่เข้ามาเรียนรู้มีความรู้เรื่องภูมิปัญญาท้องถิ่นมีความรู้เพิ่มมากขึ้น
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
85 ร้อยละ 85
KPI 2 : นำองค์ความรู้ด้านภูมิปัญญาท้องถิ่น และนำไปเผยแพร่ในเว็บไซต์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3 เรื่อง 3
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : นำองค์ความรู้ด้านภูมิปัญญาท้องถิ่น และนำไปเผยแพร่ในเว็บไซต์ และนักศึกษาที่เข้ามาเรียนรู้มีความรู้เรื่องภูมิปัญญาท้องถิ่นมีความรู้เพิ่มมากขึ้น
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นการฉลุลายผ้าแบบล้านนา

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/02/2567 - 30/08/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นางเยาวภา  เขื่อนคำ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดฐานเรียนรู้การฉลุลายผ้าแบบล้านนา พร้อมวิทยากรและอุปกรณ์ จำนวน 1 ฐานๆ ภายในวงเงิน 6,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 6,400.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,400.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 6400.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น การทำเครื่องประดับ ปิ่นปักผมดอกไม้ไหวล้านนา

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/02/2567 - 30/08/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นางเยาวภา  เขื่อนคำ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดฐานเรียนรู้การทำเครื่องประดับ ปิ่นปักผมดอกไม้ไหวล้านนา พร้อมวิทยากรและอุปกรณ์ จำนวน 1 ฐาน ภายในวงเงิน 6,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 6,400.00 บาท 0.00 บาท 6,400.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 6400.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น การดุลลายโลหะ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/02/2567 - 30/08/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นางเยาวภา  เขื่อนคำ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดฐานเรียนรู้การดุลลายโลหะ พร้อมวิทยากรและอุปกรณ์ จำนวน 1 ฐาน ภายในวงเงิน 6,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 6,400.00 บาท 0.00 บาท 6,400.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 6400.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล