21270 : โครงการสนับสนุนศูนย์เรียนรู้ในพื้นที่มูลนิธิโครงการหลวง
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชินพันธ์ ธนารุจ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 24/1/2567 11:30:41
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
02/10/2566  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  100  คน
รายละเอียด  นักศึกษา เกษตรกร และประชาชนทั่วไปที่สนใจ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบโครงการสนับสนุนงานตามพระราชดำริ 2567 100,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชินพันธ์  ธนารุจ
นาย อดิศักดิ์  การพึ่งตน
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.3.2 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.3.2.1 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67 AP 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67 AP 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคมชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67 AP 2.3.2 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 67 AP 2.3.2.1 ขับเคลื่อนการสำรวจผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนเป้าหมายจากการให้บริการวิชาการและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราโชบายในการสืบสาน รักษา และต่อยอดงานมูลนิธิโครงการหลวงสืบไป โดยตลอดระยะเวลากว่า 50 ปี ที่โครงการหลวงมุ่งดำเนินงานวิจัยและพัฒนางานด้านต่าง ๆ บนพื้นที่สูง เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจนการปลูกพืชเสพติดและการทำการเกษตรแบบเลื่อนลอยที่ส่งผลต่อปัญหาการใช้พื้นที่และทรัพยากรธรรมชาติบนพื้นที่สูง และแสดงให้เห็นถึงความสำเร็จตามเป้าหมายซึ่งได้รับการยอมรับในรูปแบบการพัฒนาที่ยั่งยืนอย่างกว้างขวางทั้งในประเทศและนานาชาติ มหาวิทยาลัยแม่โจ้และมูลนิธิโครงการหลวง ได้ดำเนินงานการวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูงร่วมกันมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2512 นับตั้งแต่โครงการหลวงเริ่มก่อตั้งขึ้น โดยมหาวิทยาลัยแม่โจ้ได้สนับสนุนการดำเนินงานของมูลนิธิโครงการหลวงและทำงานาร่วมกันมาโดยตลอดเป็นเวลากว่า 50 ปีที่ผ่านมา ก่อให้เกิดคุณูปการระหว่างกันมากมาย และเพื่อให้เกิดความร่วมมืออย่างยั่งยืน จึงได้ให้ความสำคัญของการพัฒนาในพื้นที่สูงในทุกมิติเพื่อให้เกิดความยั่งยืนต่อไปตามแนวพระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชการที่ 9 และพระราโชบายของพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ได้พระราชทานพระราโชบายให้ “สืบสาน รักษา และต่อยอด” โครงการหลวง เพื่อความสุขของปวงประชา ทั้งสองฝ่ายจึงได้จัดทำบันทึกความเข้าใจความร่วมมือระหว่าง มหาวิทยาลัยแม่โจ้และมูลนิธิโครงการหลวง ขึ้นเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2562 เพื่อส่งเสริม สนับสนุน และบูรณาการความร่วมมือทางวิชาการของทั้งสองหน่วยงานในทุกมิติ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และส่งแวดล้อม ให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน ในส่วนของมหาวิทยาลัยแม่โจ้นั้น ได้สนับสนุนงานมูลนิธิโครงการหลวงอยู่ 5 ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงฯ ปัจจุบันศูนย์พัฒนาโครงการหลวงนอกจากการส่งเสริมอาชีพแก่เกษตรกรแล้ว ยังเป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้ของการพัฒนาพื้นสูงอย่างยั่งยืนอีกด้วย มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นหน่วยงานด้านการศึกษาที่มีความพร้อมด้านบุคลากรและองค์ความรู้ จึงเล็งเห็นความสำคัญในการสนับสนุนการพัฒนาศูนย์เรียนรู้ในพื้นที่งานมูลนิธิโครงการหลวง เพื่อให้เกิดเรียนรู้อย่างยั่งยืนต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อสนับสนุนการสนองงานโครงการตามพระราชดำริ
2. เพื่อสนับสนุนการพัฒนาแหล่งศึกษาเรียนรู้ของศูนย์พัฒนาโครงการหลวงฯ อย่างยั่งยืน
3. เพื่อให้ชุมชนในพื้นที่ได้รับองค์ความรู้และเทคนิคในการผลิตไม้ผลในรูปแบบต่าง ๆ
4. เพื่อสนับสนุนให้เกิดการศึกษาดูงาน/การเรียนรู้ การฝึกประสบการณ์ บริเวณพื้นที่ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงฯ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : สนับสนุนศูนย์เรียนรู้ในพื้นที่มูลนิธิโครงการหลวง
KPI 1 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : พื้นที่แหล่งศึกษาเรียนรู้ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงที่ได้รับการพัฒนา
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 พื้นที่ 1
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 4 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : ร้อยละของผู้เข้ารับริการมีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : จำนวนผู้เข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 50 คน 100
KPI 7 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 8 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.09928 0.00072 ล้านบาท 0.1
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : สนับสนุนศูนย์เรียนรู้ในพื้นที่มูลนิธิโครงการหลวง
ชื่อกิจกรรม :
1. วางแผนร่วมกับศูนย์ฯแม่สาใหม่
2. จัดเตรียมพื้นที่และวัสดุ-อุปกรณ์
3. ดำเนินการ-ประเมินผล

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 02/10/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชินพันธ์  ธนารุจ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายอดิศักดิ์  การพึ่งตน (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทาง (จำนวน 1 คน x 1 วัน x 240 บาท x 6 ครั้ง เป็นเงิน 1,440 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 720.00 บาท 720.00 บาท 1,440.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถยนต์ (จำนวน 1 วัน x 1,800 บาท x 3 ครั้ง เป็นเงิน 5,400 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 5,400.00 บาท 0.00 บาท 5,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ ปากกา และค่าถ่ายเอกสาร ฯลฯ เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร เช่น ปุ๋ยคอก สารชีวภัณฑ์ป้องกันกำจัดศัตรูพืช ต้นกล้าพันธุ์ไม้ พลาสติกคลุมโรงเรือน ฯลฯ
เป็นเงิน 55,160 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 55,160.00 บาท 0.00 บาท 55,160.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกพิมพ์ เมาส์ คีย์บอร์ด แผ่นซีดี ฯลฯ เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เช่น ลังพลาสติก ตะกร้าพลาสติก ฯลฯ เป็นเงิน 20,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุน้ำมันเชื่อเพลิง เป็นเงิน 8,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 8,000.00 บาท 0.00 บาท 8,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 100000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล