21235 : โครงการอบรมผู้ประกอบการธุรกิจนำเข้าและส่งออกพืชเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเบื้องต้น
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
05/02/2567  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  20  คน
รายละเอียด  ผู้ประกอบการฯ และผู้ที่สนใจทั่วไป
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน 2567 39,900.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ขวัญจรัส  เชิงปัญญา
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 5. การสร้างความมั่นคงทางงบประมาณและทรัพยากรอย่างยั่งยืน (Budget and Resource Sustainability)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 5.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีความมั่นคงทางงบประมาณและทรัพยากรอย่างยั่งยืน
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 5.1.2 จำนวนเงินรายได้จากการให้บริการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 5.1.2.5 ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรหรือหน่วยงานให้บริการวิชาการเพื่อก่อให้เกิดรายได้
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ประเทศไทยหนึ่งในประเทศผู้ผลิตไม้ดอกไม้ประดับที่สำคัญของโลก โดยมีมูลค่าในตลาดโลกเพิ่มขึ้นทุกปี ข้อมูลจากกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศพบว่า ธุรกิจส่งออกไม้ประดับของไทยได้รับผลกระทบไม่มากจากสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 โดยการส่งออกช่วงไตรมาสแรกของปี 2563 (เดือนมกราคม-มีนาคม) ไปยังตลาดอาเซียนมีมูลค่าการส่งออกสูงถึง 4.99 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ หรือคิดเป็นมูลค่าการเพิ่มขึ้นถึง 5.05% และในช่วงที่ผ่านมาตลาดไม้ดอกไม้ประดับบางชนิด เช่น ไม้อวบน้ำ แคคตัส พืชกลุ่มฮาร์โวเทีย ไม้ใบกลุ่มมอนสเตอร่า มีการเติบโตเพิ่มขึ้น และมีแนวโน้มสูงขึ้นอีกเมื่อสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 คลี่คลาย และปัจจุบันนี้สินค้าไม้ดอกไม้ประดับและพันธุ์ไม้ของไทยทุกรายการสามารถส่งออกไปยังประเทศคู่ค้า FTA จำนวน 17 ประเทศ เช่น กลุ่มประเทศอาเซียน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ จีน ฮ่องกง ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ชิลี และเปรู โดยไม่ต้องเสียภาษีศุลกากร อีกทั้งประเทศไทยมีข้อได้เปรียบจากภูมิประเทศและภูมิอากาศที่เหมาะสม และเทคโนโลยีการขยายพันธุ์และปรับปรุงพันธุ์ที่ดี เช่น เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชที่ได้รับความนิยมมากขึ้น ทำให้เกิดสายพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับน่าสนใจมากมาย จึงทำให้มีแนวโน้มผู้สนใจทำธุรกิจนำเข้าและส่งออกพืชเพิ่มมากขึ้น ดังนั้นเพื่อให้สินค้าไม้ดอกไม้ประดับของไทยสามารถขยายตลาดไปยังผู้บริโภคต่างประเทศมากขึ้น รวมถึงการนำเข้าไม้ดอกไม้ประดับสายพันธุ์ใหม่ๆ เพื่อการปรับปรุงพันธุ์เป็นไปอย่างถูกต้อง การคำนึงถึงมาตรฐานและความปลอดภัย เช่น ข้อกำหนดด้านมาตรการสุขอนามันและสุขอนามัยพืช (Sanitary and Phytosanitary Measures) ใบรับรองปลอดศัตรูพืช (Phytosanitary Certificate) จึงมีความสำคัญอย่างยิ่ง ดังนั้นมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ จึงเล็งเห็นว่าการเปิดอบรมในหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-degree) ผู้ประกอบการธุรกิจนำเข้าและส่งออกพืชเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อมีแนวโน้มว่าจะได้รับความสนใจจากผู้ประกอบการธุรกิจไม้ดอกไม้ประดับภายในประเทศที่อยากขยายตลาด หรือผู้สนใจที่อยากทำอาชีพนำเข้าและส่งออกพืชเป็นอาชีพหลักหรืออาชีพเสริม เพื่อให้สามารถนำเข้าและส่งออกพืชได้อย่างถูกต้อง

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจหลักการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชเบื้องต้น
2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการจัดเตรียมพืช และเอกสารเพื่อนำเข้าและส่งออกพืชเบื้องต้น
3. 3) เพื่อสร้างรายได้จากการบริการวิชาการให้แก่ส่วนงาน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : โครงการอบรมผู้ประกอบการธุรกิจนำเข้าและส่งออกพืชเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเบื้องต้น
KPI 1 : ร้อยละของผู้เข้ารับบริการมีทักษะการเตรียมอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชเพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
20 คน 20
KPI 3 : จำนวนเงินรายได้ที่เกิดจากการบริการวิชาการ คงเหลือ (กำไร) ที่นำส่งส่วนงาน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
18100 บาท 18100
KPI 4 : ร้อยละของผู้เข้ารับบริการมีทักษะการจัดเตรียมพืช และเอกสารเพื่อนำเข้าและส่งออกพืชเบื้องต้นเพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : โครงการอบรมผู้ประกอบการธุรกิจนำเข้าและส่งออกพืชเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเบื้องต้น
ชื่อกิจกรรม :
อบรมผู้ประกอบการธุรกิจนำเข้าและส่งออกพืชเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเบื้องต้น

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 05/02/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ขวัญจรัส  เชิงปัญญา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อภิรดี  เสียงสืบชาติ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉันทนา  ซูแสวงทรัพย์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.จิรพงศ์  ศรศักดานุภาพ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.วาศิณี  ปานจันทร์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.วิลาสินี  บุญธรรม (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.วัชรี  เลขะวิพัฒน์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 25 คน ๆ ละ 2 วัน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 3,500 บาท
2. ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 25 คน ๆ ละ 2 วัน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 60 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
3. ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง
3.1 ค่าพาหนะสำหรับวิทยากร (ไป-กลับ แพร่-เชียงราย) จำนวน 475 กิโลเมตร ๆ ละ 4 บาท เป็นเงิน 1,900 บาท
3.2 ค่าที่พักสำหรับวิทยากร จำนวน 2 คืน ๆ ละ 1 ห้อง ๆ ละ 500 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 9,400.00 บาท 0.00 บาท 9,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคบรรยาย (มิใช่บุคลากรของรัฐ) จำนวน 1 คน ๆ ละ 2 วัน ๆ ละ 8 ชั่วโมง ๆ ละ 1,200 บาท เป็นเงิน 19,200 บาท
2. ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 3 คน ๆ ละ 2 วัน ๆ ละ 200 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 20,400.00 บาท 0.00 บาท 20,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เป็นเงิน 2,000 บาท
2. ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์และการแพทย์ เป็นเงิน 5,000 บาท
3. ค่าวัสดุเกษตร เป็นเงิน 3,100 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 10,100.00 บาท 0.00 บาท 10,100.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 39900.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
สามารถบูรณาการกับการเรียนการสอนวิชา ทช351 เทคโนโลยีชีวภาพพืช หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมเกษตร (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560) และรายวิชา ตล370 การตลาดระดับโลกสำหรับสินค้าและบริการของชุมชน บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)
ช่วงเวลา : 01/11/2566 - 30/09/2567
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล