21199 : การพัฒนามาตรฐานเกษตรและอาหารอินทรีย์สู่การขับเคลื่อนชุมชนท่องเที่ยวเชิงสุขภาพวิถีล้านนานิเวศของจังหวัดเชียงใหม่
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
นางสาวณัจฉรียา ชัยประภา (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 12/1/2567 16:14:24
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/11/2566  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  120  คน
รายละเอียด  กลุ่มชุมชน วิสาหกิจชุมชน ผู้ประกอบการ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน วิทยาลัยนานาชาติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายแผนงานบริการวิชาการแก่ชุมชน งบประมาณประจำปี 2567 2567 330,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
รองศาสตราจารย์ ดร. ระพีพันธ์  แดงตันกี
อาจารย์ ว่าที่ร้อยเอก ดร. จิระชัย  ยมเกิด
อาจารย์ ดร. วินิตรา  ลีละพัฒนา
อาจารย์ ดร. ประยงค์  คูศิริสิน
อาจารย์ ดร. สุธีรา  สิทธิกุล
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
วิทยาลัยนานาชาติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.2 มีผลงานวิจัยและนวัตกรรม ที่ใช้เกษตรเป็นรากฐาน และได้รับการยอมรับในระดับชาติและนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.2.1 จำนวนเงินวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.2.1.1 ผลักดันการวิจัยตามแผนแม่บทการวิจัยระยะ 15 ปี ที่สอดคล้อง กับทิศทางม.และของชาติ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67 MJU-IC มิติที่ 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67 MJU-IC 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67 MJU-IC 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 67 MJU-IC ส่งเสริมและผลักดันจำนวนงบประมาณบริการวิชาการของวิทยาลัยนานาชาติ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ประเทศไทย เป็นประเทศที่มีความสำคัญในด้านการผลิตและการค้าสินค้าเกษตรในระดับโลก ด้วยลักษณะภูมิประเทศที่เหมาะสมต่อการเพาะปลูก และความหลากหลายทางชีวภาพ ทำให้สินค้าเกษตรของประเทศไทยมีความหลากหลาย มีคุณภาพดี เป็นที่ต้องการของผู้บริโภค ซึ่งในการพัฒนาต่อยอดเพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตร ให้มีคุณภาพและเป็นที่ต้องการมากขึ้น สามารถใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมต่าง ๆ มากมาย โดยหนึ่งในการเพิ่มมูลค่าและการรับประกันคุณภาพสินค้าที่เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ คือ การรับรองระบบการผลิตตามมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีและมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ การตรวจรับรองระบบการผลิตตามมาตรฐานต่าง ๆ เป็นการสร้างความเชื่อมั่นในคุณภาพสินค้าที่ได้รับการยอมรับอย่างแพร่หลายในระดับโลก เนื่องจากเป็นแนวทางที่มีมาตรฐานและได้รับการยอมรับโดยทั่วไป จังหวัดเชียงใหม่ เป็นจังหวัดที่มีความหลากหลายทางทรัพยากร ประเพณีวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น นอกจากนี้ยังมีแหล่งท่องเที่ยวที่โดดเด่นทั้งด้านแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร เชิงสุขภาพและอาหาร ส่งผลให้จังหวัดเชียงใหม่ มีจุดเด่นด้านการเป็นเมืองท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและการแพทย์ หรือ medical-wellness tourism เนื่องจากเชียงใหม่มีเทคโนโลยีแพทย์เฉพาะทางเฉพาะด้านที่มีชื่อเสียง และมีโรงพยาบาลระดับมาตรฐานในระดับนานาชาติ ตลอดจนธุรกิจบริการด้านสุขภาพที่ครบวงจร วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้มุ่งดำเนินการพัฒนาเมืองเชียงใหม่เป็นเมืองท่องเที่ยวเชิงสุขภาพวิถีล้านนานิเวศ เพื่อฟื้นฟูการท่องเที่ยวหลังวิกฤติโควิด-19 โดยการ ขับเคลื่อนกิจกรรมที่สอดคล้องกับนโยบายมหาวิทยาลัยที่มีพันธกิจหลักด้านการบริการวิชาการที่สอดคล้องกับบริบท ตามแผนการพัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้ ระยะ 15 ปี (พ.ศ. 2555 – 2569) และแผนบริหารมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ระยะ 4 ปี ที่มียุทธศาสตร์หลัก คือ ยกระดับองค์ความรู้ ความสามารถด้านการเกษตรให้แก่ชุมชน สังคม ท้องถิ่นสู่ความยั่งยืนจึงเกิดความร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและองค์กรระดับเครือข่ายให้การรับรองระบบการผลิตแก่เกษตรกร ที่ต้องการพัฒนาคุณภาพสินค้า เพิ่มมูลค่าและสร้างความเชื่อมั่นในสินค้าของตนเอง ให้เกษตรกรมีศักยภาพในการผลิตและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของสินค้าเกษตรได้ต่อไป ด้วยเหตุนี้ วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าว จึงมีแนวคิดในการดำเนินการจัดทำโครงการการพัฒนามาตรฐานเกษตรและอาหารอินทรีย์สู่การขับเคลื่อนชุมชนท่องเที่ยวเชิงสุขภาพวิถีล้านนานิเวศของจังหวัดเชียงใหม่ ทั้งนี้ มีการถ่ายทอดองค์ความรู้มาตรฐานเกษตรและอาหารอินทรีย์สู่การขับเคลื่อนชุมชนท่องเที่ยวเชิงสุขภาพวิถีล้านนานิเวศของจังหวัดเชียงใหม่ การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารอินทรีย์สู่การขับเคลื่อนชุมชนท่องเที่ยวเชิงสุขภาพวิถีล้านนานิเวศของจังหวัดเชียงใหม่ และการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพวิถีล้านนานิเวศของจังหวัดเชียงใหม่ เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจของชุมชน สังคมและประเทศต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อพัฒนาถ่ายทอดพัฒนาองค์ความรู้มาตรฐานเกษตรและอาหารอินทรีย์สู่การขับเคลื่อนชุมชนท่องเที่ยว เชิงสุขภาพวิถีล้านนานิเวศของจังหวัดเชียงใหม่
เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารอินทรีย์สู่การขับเคลื่อนชุมชนท่องเที่ยวเชิงสุขภาพวิถีล้านนานิเวศของจังหวัด เชียงใหม่
เพื่อพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวเชิงสุขภาพวิถีล้านนานิเวศของจังหวัดเชียงใหม่
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
KPI 1 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.35 ล้านบาท 0.35
KPI 3 : ชุมชนเข้าถึงอาหารที่ปลอดภัยที่มีคุณค่าทางโภชนาการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
12 ร้อยละ 12
KPI 4 : องค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมฟาร์มอัจฉริยะ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
4 องค์ความรู้ 4
KPI 5 : เส้นทางท่องเที่ยวเชิงสุขภาพวิถีล้านนานิเวศของจังหวัดเชียงใหม่
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 เส้นทาง 1
KPI 6 : เกิดผลิตภัณฑ์อาหารอินทรีย์แปรรูป
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 ผลิตภัณฑ์ 2
KPI 7 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 8 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 9 : จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม/ศึกษาดูงาน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
120 คน 120
KPI 10 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 11 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ชื่อกิจกรรม :
การถ่ายทอดองค์ความรู้มาตรฐานเกษตรอินทรีย์สู่การขับเคลื่อนชุมชนท่องเที่ยวเชิงสุขภาพวิถีล้านนานิเวศ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2566 - 30/03/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ว่าที่ร้อยเอก ดร.จิระชัย  ยมเกิด (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำคู่มือฝึกอบรม จำนวน 120 เล่ม ๆ ละ 45 บาท 2 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 10,800.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 120 คน ๆ ละ 150 บาท 2 มื้อ จำนวน 2ครั้ง เป็นเงิน 72,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 72,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 72,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 120 คน ๆ ละ 50 บาท 4 มื้อ จำนวน 2 ครั้ง เป็นเงิน 48,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 48,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 48,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถพร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 1 คัน 3 วัน ๆ ละ 2,500 บาท จำนวน 2 ครั้ง เป็นเงิน 15,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 15,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าที่พัก จำนวน 2 คน ๆ ละ 800 บาท จำนวน 2 วัน จำนวน 2 ครั้ง เป็นเงิน 6,400 บาท
(ห้องเดี่ยวหรือคู่)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 6,400.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (ที่มิใช่บุคลากรของรัฐ) บรรยาย จำนวน 7 ชั่วโมงๆ ละ 1,200 บาท 1 คน 2 วัน จำนวน 2 ครั้ง เป็นเงิน 33,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 33,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 33,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น ปากกา กระดาษ เป็นต้น เป็นเงิน 13,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 13,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 13,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น ซีดี หมึกปริ้น เป็นต้น เป็นเงิน 14,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 14,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 14,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร เช่น กากมะพร้าว ดิน เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 217800.00
ชื่อกิจกรรม :
การพัฒนาแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารและการสร้างอัตลักษณ์ชุมชนท่องเที่ยวเชิงสุขภาพวิถีล้านนานิเวศ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2566 - 31/10/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.วินิตรา  ลีละพัฒนา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 60 คน ๆ ละ 150 บาท 2 มื้อ จำนวน 2ครั้ง เป็นเงิน 36,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 36,000.00 บาท 0.00 บาท 36,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 60 คน ๆ ละ 50 บาท 4 มื้อ จำนวน 2 ครั้ง เป็นเงิน 24,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 24,000.00 บาท 0.00 บาท 24,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาออกแบบและจัดทำบรรจุภัณฑ์และตราผลิตภัณฑ์จำนวน 2 ชิ้นงาน ๆ ละ 4,300 บาท เป็นเงิน 8,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 8,600.00 บาท 0.00 บาท 8,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (ที่มิใช่บุคลากรของรัฐ) บรรยาย จำนวน 7 ชั่วโมงๆ ละ 1,200 บาท 1 คน 2 วัน จำนวน 2 ครั้ง เป็นเงิน 33,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 33,600.00 บาท 0.00 บาท 33,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น ซีดี หมึกปริ้น เป็นต้น เป็นเงิน 10,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 112200.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
รายการเอกสารประกอบ
mju1 บก67-02ชุดโครงการ28.11.65.doc
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล