21188 : โครงการ การพัฒนาผู้ประกอบการเกษตรปลอดภัย/อินทรีย์แบบครบวงจรตามโมเดล Green Valley @Maejo Phrae
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 17/1/2567 13:31:11
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/11/2566  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  575  คน
รายละเอียด  นักศึกษา บุคลากรมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ฯ/เกษตร/ผู้ที่สนใจทั่วไป
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบบริการวิชาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 ของสำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 2567 330,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กมลพร  ปานง่อม
น.ส. ขนิษฐา  เกตุสุวรรณ์
นาง ศิรภัสสร  กันถาด
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 1.2 ความสำเร็จของการเป็นมหาวิทยาลัยแห่งชีวิต (GO. Eco U.)
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 1.2.1 ความสำเร็จของยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์ (Organic University)
กลยุทธ์ 67-70 MJU 1.2.1.1 กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่มหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์ที่ชัดเจน และขับเคลื่อนกิจกรรม รวมทั้งติดตามประเมินผลอย่างเป็นระบบ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-6 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
เป้าประสงค์ 67-6.1 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
ตัวชี้วัด 67-6.1.2 ความสำเร็จของยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์ (Organic University)
กลยุทธ์ 67-6.1.2.1 กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่มหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์ที่ชัดเจน และขับเคลื่อนกิจกรรมที่เกี่ยวข้องติดตามประเมินผลอย่างเป็นระบบ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ เป็นสถาบันการศึกษาที่ได้มีการขยายโอกาสทางการศึกษาจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่มาที่จังหวัดแพร่ ที่มีความเป็นอัตลักษณ์พื้นฐานขององค์ความรู้ทางด้านการเกษตรเป็นฐานราก และมีบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญในศาสตร์ทางด้านการเกษตร โดยในปัจจุบันเป็นมหาวิทยาลัยที่ถูกจัดในกลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาเทคโนโลยีและและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม ที่ต้องมีการพัฒนาและนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาบูรณาการ (integration) ในเรื่องของการพัฒนาระบบการเกษตรของประเทศให้ดีขึ้น โดยพระราชดำรัสของในหลวง รัชกาลที่ 9 ในด้านการพัฒนาการเกษตรที่มีวิธีคิดหรือหลักการในการพิจารณาสิ่งต่าง ๆ อย่างเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน กล่าวคือสิ่งแต่ละสิ่งแต่ละปัญหา แต่ละปรากฏการณ์ ล้วนเกิดขึ้น ดำรงอยู่ ดำเนินไปงอกงามแปรเปลี่ยนหรือเสื่อมสลาย ก็ด้วยเหตุปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวเนื่องซึ่งกัน และกันเกษตรกรรมก็เช่นเดียวกัน มิใช่เป็นสิ่งที่ดำรงอยู่อย่างโดด ๆ แต่เป็นองค์ประกอบส่วนหนึ่งของระบบธรรมชาติหรือระบบนิเวศ ฉะนั้นการพัฒนา การเกษตรหรือการแก้ปัญหาให้แก่เกษตรกร จึงต้องสัมพันธ์กับระบบอื่น ๆ ที่เชื่อมโยงกันอยู่ ที่สอดคล้องกับพระบรมราโชวาทที่พระราชทานแก่ผู้สำเร็จการศึกษาจากสถาบันเทคโนโลยีการเกษตรแม่โจ้ ณ วันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2525 ว่า "ในการปฏิบัติงานเกษตรนั้น นักวิชาการเกษตรควรจะศึกษา สังเกตให้ทราบชัดว่าเกษตรกรรมย่อมเป็นไปหรือดำเนินไปอย่างต่อเนื่องเป็นวงจร และเป็นส่วนหนึ่งของวงจร ธรรมชาติ ซึ่งมีการเกิดสืบเนื่องทดแทนกันอย่างพิสดาร จากปัจจัยหนึ่ง เช่น พันธุ์พืช เมื่อได้อาศัยปัจจัยอื่น ๆ มีดิน น้ำ อากาศ เป็นต้น เข้าปรุงแต่งทำให้เกษตรกรได้พืชผลขึ้นมา พืชผลที่ได้มานั้น เมื่อนำไปบริโภคเป็นอาหาร ทำให้ได้พลังงานมาทำงาน เมื่อนำออกจำหน่ายก็ทำให้เกิดผลทางเศรษฐกิจขึ้น ทั้งแก่ผู้ซื้อ และผู้ผลิต คือผู้ซื้อ ย่อมนำไปทำผลประโยชน์ให้งอกเงยต่อไปได้ ผู้ผลิตก็ได้เงินทองมาจับจ่ายใช้สอยยังชีพ รวมทั้งซื้อหาปัจจัยสำหรับสนับสนุนการผลิตของตนให้เกิดผลหมุนเวียนเพิ่มเติมขึ้น เห็นได้ว่า แม้เพียงงานเกษตรอย่างเดียว ยังจำเป็นต้องเกี่ยวพันกับงานต่าง ๆ กับเหตุปัจจัยต่าง ๆ มากมายหลายขอบข่าย ทั้งต้องเกี่ยวกัน อาศัยกันอย่างถูกต้องสมดุลอีกด้วย" มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ เป็นมหาวิทยาลัยที่ตั้งอยู่ในพื้นที่จังหวัดแพร่ เน้นการเรียนการสอนในศาสตร์ทั้งทางด้านเกษตร สิ่งแวดล้อม และการบริหารจัดการ โดยมีการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมต่าง ๆ เข้ามาช่วยในการพัฒนาระบบการเกษตรให้มีประสิทธิภาพและมูลค่าเพิ่มขึ้น ควบคู่กับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (ดิน น้ำ ป่า) ในพื้นที่ให้เกิดความสมดุลของระบบนิเวศ ประชาชนอยู่ดีกินดีและมีรายได้ที่เหมาะสม ซึ่งนำไปสู่ความยั่งยืนของเศรษฐกิจในชุมชนและประเทศ ดังนั้นการพัฒนาโครงการ การพัฒนาผู้ประกอบการเกษตรปลอดภัย/อินทรีย์แบบครบวงจรตามโมเดล Green Valley @ Maejo Phrae เพื่อสร้างเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ต้นแบบทางด้านการเกษตรแบบบูรณาการแบบครบวงจรให้กับชุมชนในพื้นที่ในการเป็นแหล่งเรียนรู้และศึกษาดูงาน ของเกษตรกร และเจ้าหน้าที่หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน ซึ่งในการบูรณาการงานทางด้านการเกษตรเข้ากับศาสตร์อื่น ๆ ตามพระราชดำริของในหลวงรัชกาลที่ 9 ในปัจจุบัน โดยจะครอบคลุมทั้งการเลี้ยงสัตว์ การปลูกพืช การพัฒนาและวิจัยปัจจัยการผลิตทางด้านการเกษตร การแปรรูปผลผลิตทางด้านการเกษตรเพื่อเพิ่มมูลค่า การพัฒนาระบบการตลาด และการรักษาความสมดุลของสิ่งแวดล้อม เพื่อก่อให้เกิดรายได้ในระบบเศรษฐกิจทางด้านการเกษตรแบบครบวงจรและเกิดความยั่งยืน โดยเน้นระบบการเกษตรปลอดภัยหรืออินทรีย์ เพื่อให้เกิดความสมดุลของธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ ลดปริมาณการปลดปล่อยคาร์บอนจากระบบเกษตร และเพิ่มการกักเก็บคาร์บอนของทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่จังหวัดแพร่ เพื่อสนับสนุนนโยบายการเข้าสู่สังคมที่มีความเป็นกลางทางคาร์บอน (carbon neutral) ในการลดกิจกรรมการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกของประเทศและประชาคมโลก มากกว่านี้โครงการนี้ยังมีการบูรณาการกับการเรียนการสอนในหลากหลายสาขาวิชาทั้งทางด้านการเกษตร สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและนวัตกรรม บริหารธุรกิจ และการจัดการท่องเที่ยว ในการพัฒนาทักษะอาชีพและประสบการณ์ให้กับนักศึกษาที่สามารถเป็นผู้ประกอบการสมัยใหม่ทางด้านธุรกิจการเกษตรแบบปลอดภัยและอินทรีย์ ที่ก่อให้เกิดการสร้างรายได้สำหรับการเลี้ยงชีพ มีความกินดีอยู่ดีของคนในชุมชน และเกิดความสมดุลทางระบบนิเวศระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม ตลอดจนเกิดความยั่งยืนของเศรษฐกิจของชุมชนและประเทศ ตามนโยบายของจังหวัดแพร่ในการเป็นเมืองสุขภาวะ (Healthy City) ที่มีการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางด้านการเกษตรปลอดภัยหรืออินทรีย์ในการเป็นชุมชนสีเขียว (Green Valley) ที่มีการปลดปล่อยคาร์บอนต่ำด้วยการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านชีวนวัตกรรมปุ๋ยและวัสดุอินทรีย์ปรับปรุงดินสำหรับระบบเกษตรปลอดภัย/อินทรีย์
2. เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชเศรษฐกิจปลอดภัย และเพื่อเป็นฐานการเรียนรู้ด้านด้านการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชเศรษฐกิจปลอดภัย
3. เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการผลิตและใช้ปัจจัยการผลิตพืชจากฐานทรัพยากรท้องถิ่น
4. เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการเลี้ยงไก่ไข่ในระบบปศุสัตว์อินทรีย์เพื่อการค้า
4. เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่การพัฒนาเป็นผู้ประกอบการด้านการแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารจากผลผลิตทางการเกษตรปลอดภัย เพื่อการจำหน่าย เชิงพานิชย์
5. เพื่อพัฒนาและฝึกอบรมเชิงปฏิบัติด้านการตรวจวัดคาร์บอนเครดิตทางภาคป่าไม้และการเกษตร
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : เทคนิค/นวัตกรรม ด้าน เกษตรปลอดภัยหรืออินทรีย์
KPI 1 : จำนวนผู้รับบริการกิจกรรมที่ 2 การถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชฯ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
25 คน 25
KPI 2 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงไก่ไข่ในระบบปศุสัตว์อินทรีย์เพื่อการค้าเพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : จำนวนฐานเรียนรู้ชีวนวัตกรรมปุ๋ยและวัสดุอินทรีย์ปรับปรุงดินสำหรับระบบเกษตรปลอดภัย
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ฐานเรียนรู้ 1
KPI 4 : จำนวนผู้รับบริการกิจกรรมที่ 5 การถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการฯ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 คน 30
KPI 5 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เกี่ยวกับชีวนวัตกรรมปุ๋ยและวัสดุอินทรีย์ปรับปรุงดินสำหรับระบบเกษตรปลอดภัย/อินทรีย์เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 7 : จำนวนฐานเรียนรู้การเลี้ยงไก่ไข่ในระบบปศุสัตว์อินทรีย์เพื่อการค้า
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ฐานเรียนรู้ 1
KPI 8 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 9 : จำนวนผู้เข้าชมฐานเรียนรู้ชีวนวัตกรรมปุ๋ยและวัสดุอินทรีย์ปรับปรุงดินสำหรับระบบเกษตรปลอดภัย
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 คน 100
KPI 10 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เกี่ยวกับการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชเศรษฐกิจปลอดภัยเพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 11 : จำนวนผู้รับบริการกิจกรรมที่ 3 การถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการผลิตพืชท้องถิ่นฯ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 คน 30
KPI 12 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 13 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เกี่ยวกับการเป็นผู้ประกอบการด้านการ แปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารจากผลผลิตทางการเกษตรปลอดภัย เพื่อการจำหน่ายเชิงพานิชย์เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 14 : จำนวนผู้รับบริการกิจกรรมที่ 6 การพัฒนาและฝึกอบรมเชิงปฏิบัติด้านการตรวจวัดคาร์บอนเครดิตฯ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
40 คน 40
KPI 15 : จำนวนฐานเรียนรู้การผลิตเมล็ดพันธ์พืชเศรษฐกิจปลอดภัย
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ฐานเรียนรู้ 1
KPI 16 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 17 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.1495 0.1805 ล้านบาท 0.33
KPI 18 : จำนวนผลิตภัณฑ์ต้นแบบจากผลผลิตทางการเกษตรปลอดภัย
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3 ผลิตภัณฑ์ 3
KPI 19 : จำนวนผู้เข้าชมฐานเรียนรู้การเลี้ยงไก่ไข่ในระบบปศุสัตว์อินทรีย์เพื่อการค้า
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 คน 100
KPI 20 : จำนวนผู้รับบริการกิจกรรมที่ 4 การถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการเลี้ยงไก่ไข่ในระบบปศุสัตว์ฯ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
20 คน 20
KPI 21 : จำนวนผลิตภัณฑ์ต้นแบบจากปุ๋ยและวัสดุอินทรีย์ปรับปรุงดิน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
4 ผลิตภัณฑ์ 4
KPI 22 : จำนวนผู้เข้าชมฐานเรียนรู้การผลิตและใช้ปัจจัยการผลิตพืชจากฐานทรัพยากรท้องถิ่น
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 คน 100
KPI 23 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เกี่ยวกับการตรวจวัดคาร์บอนเครดิตทางภาคป่าไม้และการเกษตรเพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 24 : จำนวนฐานเรียนรู้การผลิตและใช้ปัจจัยการผลิตพืชจากฐานทรัพยากรท้องถิ่น
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ฐานเรียนรู้ 1
KPI 25 : จำนวนผู้เข้าชมฐานเรียนรู้การผลิตเมล็ดพันธุ์พืชเศรษฐกิจปลอดภัย
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 คน 100
KPI 26 : จำนวนผู้รับบริการกิจกรรมที่ 1 การถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านชีวนวัตกรรมปุ๋ยฯ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 คน 30
KPI 27 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เกี่ยวกับการผลิตและใช้ปัจจัยการผลิตพืช จากฐานทรัพยากรท้องถิ่นเพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : เทคนิค/นวัตกรรม ด้าน เกษตรปลอดภัยหรืออินทรีย์
ชื่อกิจกรรม :
1) พัฒนาฐานเรียนรู้และอบรมเชิงปฏิบัติการด้านชีวนวัตกรรมปุ๋ยและวัสดุอินทรีย์ปรับปรุงดินสำหรับระบบเกษตรปลอดภัย/อินทรีย์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.ณัฐพร  จันทร์ฉาย (ผู้รับผิดชอบหลัก)
รองศาสตราจารย์ ดร.วีรนันท์  ไชยมณี (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.พัชรณัฐ  ดาวดึงษ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.วัชรี  เลขะวิพัฒน์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ธีราพัฒน์  จักรเงิน (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 35 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 120 บาท เป็นเงิน 4,200 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 35 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 2,450 บาท

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 6,650.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,650.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคปฏิบัติ (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 1 คน ๆ ละ 8 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 2,400.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุเกษตร เช่น ฝุ่นข้าว รำละเอียด ฝุ่นข้าวโพด เป็นต้น เป็นเงิน 24,950 บาท
2. ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์และการแพทย์ เช่น โปเตโตเดกโทรส เอการ์ เคซีน เปปโตน ยีสเอกแทรกซ์ พาวเดอร์ เป็นต้น เป็นเงิน 18,000 บาท
3. ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษA4 ลวดเสียบ ค่าถ่ายเอกสาร ฯลฯ เป็นเงิน 7,000 บาท
4. ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกพิมพ์ ฯลฯ เป็นเงิน 2,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 52,450.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 52,450.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 61500.00
ชื่อกิจกรรม :
2) พัฒนาฐานเรียนรู้และอบรมเชิงปฏิบัติการด้านการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชเศรษฐกิจปลอดภัยให้พัฒนาเป็นอาชีพที่สร้างรายได้

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ละออทิพย์  นะโลกา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ศิริโสภา อินขะ  วรรณวงศ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ศรายุทธ  ตรีรัตน์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ประกิตต์  โกะสูงเนิน (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.อนุวัฒน์  จรัสรัตนไพบูลย์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 30 คน ๆ ละ 2 วัน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 120 บาท เป็นเงิน 7,200 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 30 คน ๆ ละ 2 วัน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 4,200 บาท
3. ค่าจ้างเหมาจัดทำป้ายไวนิล ขนาด 4 *1.5 เมตร จำนวน 1 ป้ายๆ ละ 1,100 บาท เป็นเงิน 1,100 บาท
4. ค่าจ้างเหมาจัดทำป้ายไวนิล ขนาด 2*2.5 เมตร จำนวน 1 ป้าย ๆ ละ 900 บาท เป็นเงิน 900 บาท
5. ค่าจ้างเหมาปรับพื้นที่ จำนวน 1 งาน ๆ ละ 3,000 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 16,400.00 บาท 0.00 บาท 16,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคบรรยาย (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 1 คน ๆ ละ 2 วัน ๆ ละ 3 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
2. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคปฏิบัติ (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 2 คน ๆ ละ 2 วัน ๆ ละ 3 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
3. ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 5 คน ๆ ละ 2 วัน ๆ ละ 200 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 9,200.00 บาท 0.00 บาท 9,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เช่น ถังน้ำ กะละมัง ถุงพลาสติก ถุงซิป ตะกร้า กล่องพลาสติก เป็นต้น เป็นเงิน 3,000 บาท
2. ค่าวัสดุเกษตร เช่น ท่อนพันธุ์ เมล็ดพันธุ์ วัสดุเตรียมพื้นที่ และวัสดุปลูก และอุปกรณ์ดูแลรักษา เป็นเงิน 19,650 บาท
3. ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษA4 ลวดเสียบ ค่าถ่ายเอกสาร ฯลฯ เป็นเงิน 5,750 บาท
4. ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกพิมพ์ ฯลฯ เป็นเงิน 2,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 30,900.00 บาท 0.00 บาท 30,900.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 56500.00
ชื่อกิจกรรม :
3) พัฒนาฐานเรียนรู้และอบรมเชิงปฏิบัติการด้านการผลิตและใช้ปัจจัยการผลิตพืชจากฐานทรัพยากรท้องถิ่น

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กฤษดา  พงษ์การัณยภาส (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ขวัญจรัส  เชิงปัญญา (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.จิรพงศ์  ศรศักดานุภาพ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.วรรณอุบล  สิงห์อยู่เจริญ (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.ปธัสนันท์  แดงประทุม (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 35 คน ๆ ละ 2 วัน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 120 บาท เป็นเงิน 8,400 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 35 คน ๆ ละ 2 วัน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 4,900 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 13,300.00 บาท 0.00 บาท 13,300.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคบรรยาย (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 1 คน ๆ ละ 2 วัน ๆ ละ 3 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
2. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคปฏิบัติ (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 2 คน ๆ ละ 2 วัน ๆ ละ 3 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุเกษตร เช่น ฟางข้าว ขี้วัว เมล็ดพันธุ์ผัก เป็นต้น เป็นเงิน 29,500 บาท
2. ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษA4 ลวดเสียบ ฯลฯ เป็นเงิน 4,000 บาท
3. ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกพิมพ์ เป็นเงิน 3,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 36,500.00 บาท 0.00 บาท 36,500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 57000.00
ชื่อกิจกรรม :
4) พัฒนาฐานเรียนรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงไก่ไข่ในระบบปศุสัตว์อินทรีย์เพื่อการค้า

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรศิลป์  มาลัยทอง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ศุกรี  อยู่สุข (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดุจดาว  คนยัง (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์มรกต  วงศ์หน่อ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุรพงษ์  ทองเรือง (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิชิตร์  วรรณคำ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายวงศ์วริศ  วงศ์นาค (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายสมศักดิ์  กันถาด (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายภาสกร  อัมพรสวัสดิ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 25 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 100 บาท เป็นเงิน 2,500 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 25 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 1,750 บาท

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 4,250.00 บาท 0.00 บาท 4,250.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคบรรยาย (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 1 คน ๆ ละ 1 วัน ๆ ละ 6 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุเกษตร เช่น อาหารสัตว์อินทรีย์ ไก่ไข่สาว สมุนไพรสำหรับใช้ผสมอาหารสัตว์อินทรีย์ ฯลฯ เป็นเงิน 51,650 บาท
2. ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษA4 ลวดเสียบ ค่าถ่ายเอกสาร ฯลฯ เป็นเงิน 4,500 บาท
3. ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกพิมพ์ เป็นเงิน 3,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 59,150.00 บาท 0.00 บาท 59,150.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 67000.00
ชื่อกิจกรรม :
5) อบรมเชิงปฏิบัติการด้านการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการด้านการแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารจากผลผลิตทางการเกษตรปลอดภัย เพื่อการจำหน่ายเชิงพานิชย์
5.1) การอบรมเชิงปฏิบัติการด้านการแปรรูปผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ และสัตว์น้ำ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.พัตรเพ็ญ  เพ็ญจำรัส (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.สุภารัตน์  อำนาจ (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.บังอร  ปินนะ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 22 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 100 บาท เป็นเงิน 2,200 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 22 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 1,540 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,740.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,740.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคปฏิบัติ (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 2 คน ๆ ละ 6 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เช่น เนื้อสัตว์ เนื้อปลา เครื่องปรุง น้ำปลา น้ำตาลทราย ผงปรุงรส น้ำยาล้างจาน ทิชชู ถุงดำ บรรจุภัณฑ์ ฯลฯ เป็นเงิน 7,170 บาท
2. ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์และการแพทย์ เช่น ถุงมือยาง หมวกคลุมผม เทอร์โมมิเตอร์ ฯลฯ เป็นเงิน 1,990 บาท
3. ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษA4 ลวดเสียบ ฯลฯ เป็นเงิน 2,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 11,160.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 11,160.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 18500.00
ชื่อกิจกรรม :
5.2) การอบรมเชิงปฏิบัติการด้านการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากผัก ผลไม้ และธัญพืช

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.พัตรเพ็ญ  เพ็ญจำรัส (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.สุภารัตน์  อำนาจ (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.บังอร  ปินนะ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 11 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 100 บาท เป็นเงิน 1,100 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 11 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 770 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 1,870.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,870.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคปฏิบัติ (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 1 คน ๆ ละ 6 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 1,800.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เช่น ผัก ผลไม้ แป้ง เมล็ดธัญพืช น้ำมัน ฯลฯ เป็นเงิน 4,830 บาท
2. ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษA4 ลวดเสียบ ฯลฯ เป็นเงิน 2,000 บาท
3. ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกพิมพ์ ฯลฯ เป็นเงิน 2,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 9,330.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 9,330.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 13000.00
ชื่อกิจกรรม :
6) อบรมเชิงปฏิบัติการด้านการตรวจวัดคาร์บอนเครดิตทางภาคป่าไม้และการเกษตร

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.อิสรีย์  ฮาวปินใจ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
รองศาสตราจารย์ ดร.แหลมไทย  อาษานอก (ผู้รับผิดชอบรอง)
รองศาสตราจารย์ ดร.ต่อลาภ  คำโย (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปัญจพร  คำโย (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ศุภลักษณ์  ศิริ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ยุวดี  พลพิทักษ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ศิริลักษณ์  สุขเจริญ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธิติ  วานิชดิลกรัตน์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 55 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 120 บาท เป็นเงิน 6,600 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 55 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 3,850 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 10,450.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,450.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคบรรยาย (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 1 คน ๆ ละ 3 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
2. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคปฏิบัติ (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 3 คน ๆ ละ 3 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 2,700 บาท
3. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคปฏิบัติ (ที่มิใช่บุคลากรของรัฐ) จำนวน 4 คน ๆ ละ 3 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
4. ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 10 คน ๆ ละ 1 วัน ๆ ละ 200 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 10,100.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,100.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุเกษตร เช่น จอบ เสียม คราด ฯลฯ เป็นเงิน 15,850 บาท
2. ค่าวัสดุก่อสร้าง เช่น ตลับเมตร ปูนพอตแลนด์ ท่อ PVC ฯลฯ เป็นเงิน 10,000 บาท
3. ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษA4 ลวดเสียบ ค่าถ่ายเอกสาร ฯลฯ เป็นเงิน 7,600 บาท
4. ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกพิมพ์ เป็นเงิน 2,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 35,950.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 35,950.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 56500.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
1) กิจกรรมการถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านชีวนวัตกรรมปุ๋ยฯ การบูรณาการในหลักสูตรสาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมเกษตร รายวิชา ทช 471 การใช้ประโยชน์จากของเสียและการบำบัดมลพิษทางชีวภาพ (เอกบังคับ) จำนวน 25 คน เป็นวิชาที่เกี่ยวกับศึกษาประเภทแหล่งที่มาและเส้นทางของมลพิษ หลักการเบื้องต้น ของการบำบัดมลพิษ การบำบัดสาร มลพิษ การกระตุ้นทางชีวภาพ การเติมจุลินทรีย์เพื่อบำบัดสารมลพิษ การใช้พืชในการบำบัดสารมลพิษ การนำของเสียกลับมาใช้ใหม่ และการลดปริมาณของเสียในกระบวนการผลิต 2) กิจกรรมการถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการผ
ช่วงเวลา : 01/11/2566 - 30/09/2567
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล