21184 : โครงการ การพัฒนา Young Smart farmer พืช สัตว์ ป่าไม้ สู่ความยั่งยืนของเกษตรกรอัจฉริยะในภาคเหนือบน
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 19/12/2566 15:59:46
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการในลักษณะโครงการ (Project base) เพื่อบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
15/01/2567  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  110  คน
รายละเอียด  เกษตรกร/ประชาชนทั่วไป/นักศึกษา young smart farmers ในเขตจังหวัดแพร่
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้รับจริงสูงกว่ารายจ่ายจริง (เงินเหลือจ่าย) ประเภทเงินอุดหนุนจากรัฐบาล แผนงานบูรณาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562-2563 (เงินสะสมเพื่อขับเคลื่อนโครงการยุทธศาสตร์เชิงบูรณาการ)
2567 522,246.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร. ธนากร  ลัทธิ์ถีระสุวรรณ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 1.2 ความสำเร็จของการเป็นมหาวิทยาลัยแห่งชีวิต (GO. Eco U.)
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 1.2.1 ความสำเร็จของยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์ (Organic University)
กลยุทธ์ 67-70 MJU 1.2.1.1 กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่มหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์ที่ชัดเจน และขับเคลื่อนกิจกรรม รวมทั้งติดตามประเมินผลอย่างเป็นระบบ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-6 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
เป้าประสงค์ 67-6.1 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
ตัวชี้วัด 67-6.1.5 ความสำเร็จของการดำเนินงานด้านเกษตรอัจฉริยะ (Intelligent Agriculture)
กลยุทธ์ 67-6.1.5.1 พัฒนาระบบฟาร์ม/ศูนย์เรียนรู้ของส่วนงาน สู่การเป็นต้นแบบของระบบการเกษตรที่มีความทันสมัย ต่อยอดและถ่ายทอดให้ผู้ใช้ประโยชน์ในทุกมิติ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

รัฐบาลให้ความสำคัญกับการเกษตรแปลงใหญ่ ซึ่งเป็นนโยบายการเพิ่มศักยภาพทางเศรษฐกิจของประเทศเป็นการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันโดยกำหนด เป็นแผนยุทธศาสตร์ระดับชาติ 2 ฉบับ เพื่อการสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืนและการเสริมสร้างความมั่นคงแห่งชาติเพื่อการพัฒนาประเทศสู่ความมั่งคั่งและยั่งยืน ภาคเกษตรของไทยยังเป็นแหล่งผลิตและส่งออกสินค้าเกษตรที่สำคัญ กำลังปรับตัวสู่การใช้เทคโนโลยีชั้นสูง โดยใช้การขับเคลื่อนโมเดล Thailand 4.0 และนโยบายประชารัฐของรัฐบาล สร้างมูลค่าเพิ่มแก่ผลิตภัณฑ์พืชเกษตรโดยใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมให้มีผลผลิตต่อพื้นที่สูงขึ้นและส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนอย่างยั่งยืน และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ผลผลิตจากการเกษตรเป็นหลักในพื้นที่ภาคเหนือบน ได้แก่ การผลิต ข้าว ลำไย ยางพารา ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ลิ้นจี่ และกาแฟ มีรายได้จากภาคการเกษตรมากกว่า 40,000 ล้านบาทต่อปี แต่ผลผลิตต่อพื้นที่ของพืชเกษตรยังให้ผลผลิตต่ำ เพราะส่วนใหญ่ยังมีรูปแบบการเพาะปลูกแบบดั้งเดิม ในปัจจุบันหลายประเทศทั่วโลกกำลังปฏิวัติการทำระบบเกษตรรูปแบบใหม่ในชื่อที่เรียกว่า Smart Farm โดยการนำเทคโนโลยีด้านการเกษตรแผนใหม่ผสมผสานกับองค์ความรู้ของเกษตรกรท้องถิ่นมีการจัดการและ นวัตกรรมเข้ามาบริหารจัดการในการผลิต เพื่อเพิ่มศักยภาพของพื้นที่เกษตรแปลงใหญ่ และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ลดแรงงานที่จะขาดแคลนในอนาคต เพิ่มผลผลิตการเกษตรและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการตลาดในอนาคต ในปี 2561 ทางมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ได้รับงบประมาณและเริ่มทำการพัฒนา Smart Farmers เพื่อเสริมสร้างศักยภาพทางการผลิตของเกษตรแปลงใหญ่ ในพื้นที่จังหวัดเชียงราย พะเยา น่าน และแพร่ ไปแล้ว เป็นการเสริมสร้างศักยภาพของเกษตรกรในขั้นต้น ซึ่งเมื่อเริ่มระยะหนึ่งแล้ว ทางทีมงานเห็นสมควรต้องต่อยอดและนำนวัตกรรมทางเทคโนโลยีที่จะพัฒนาการเกษตรมาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาเกษตรกรโดยมุ่งเป้าไปที่เกษตรแปลงใหญ่เพื่อให้เกิดความเข้มแข็งในการผลิตการเกษตร โดยลดรายต้นทุนการผลิต และเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรแปลงใหญ่สามารถแข่งขันได้ในตลาดระดับนานาชาติ และในครั้งนี้ผู้ทำงานโครงการพบว่าในการทำการเกษตรพร้อมที่จะก้าวต่อไปเป็น smart farmer ได้นั้น เรือนเพาะชำ เป็นแหล่งเรียนรู้ที่สำคัญ และเป็นจุดเริ่มต้นของการเกษตรยังขาดองค์ความรู้และการพัฒนาในจุดเริ่มต้น ผู้ดำเนินโครงการจึงคิดโครงการต่อยอดในการอบรมเกษตรต้นแบบให้เป็น Smart Nursery สู่ความยั่งยืนของเกษตรกรอัจฉริยะ ลดต้นทุน และเพิ่มศักยภาพของผลผลิต ให้กับเกษตรกรสมัยใหม่ ในอนาคต

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อเพิ่มขีดความสามารถเกษตรกรแปลงใหญ่ด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยี เพื่อลดต้นทุนการผลิต และเพิ่มรายได้ ให้กับเกษตรกร ให้สามารถแข่งขันในกลุ่มประเทศอาเซียนอย่างมีประสิทธิภาพในยุค Thailand 4.0 ของกลุ่มภาคเหนือตอนบน โดยเลือกเกษตรกรในจังหวัด แพร่ และน่าน
2. เพื่อสร้างหน่วยจัดการ และหน่วยบริการให้ความรู้ โดยประยุกต์ใช้นวัตกรรมเทคโนโลยี ในระบบ Smart farm forestry
3. เพื่อสร้างหน่วยจัดการ และหน่วยบริการให้ความรู้ด้านและผลิต Young smart farmer โดยประยุกต์ใช้นวัตกรรมเทคโนโลยี และพัฒนาระบบต่างๆ ในฟาร์มเทคโนโลยีผลิตพืช เทคโนโลยีผลิตสัตว์ และการจัดการป่าไม้ ตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : การพัฒนา Young Smart farmer พืช สัตว์ ป่าไม้ สู่ความยั่งยืนของเกษตรกรอัจฉริยะในภาคเหนือบน
KPI 1 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : จำนวนฐานเรียนรู้ระบบการผลิตพืช ในระบบ smart crop production
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ฐานเรียนรู้ 1
KPI 3 : การดำเนินงานเป็นไปตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 4 : จำนวนฐานเรียนรู้ Smart feed for farm
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ฐานเรียนรู้ 1
KPI 5 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : จำนวนผู้เข้ารับการอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 20 คน 110
KPI 7 : จำนวนฐานเรียนรู้ Smart farm forestry
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ฐานเรียนรู้ 1
KPI 8 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.392246 0.13 บาท 0.522246
KPI 9 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 10 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เกี่ยวกับ พืช สัตว์ ป่าไม้ สู่ความยั่งยืน ของเกษตรกรอัจฉริยะเพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : การพัฒนา Young Smart farmer พืช สัตว์ ป่าไม้ สู่ความยั่งยืนของเกษตรกรอัจฉริยะในภาคเหนือบน
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 การพัฒนาและส่งเสริม young smart farmers ในระบบ smart farm forestry
กิจกรรมย่อยที่ 1.1 การส่งเสริมและติดตามเกษตรกรต้นแบบ young smart farmers ในระบบ smart farm forestry

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 15/01/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.ธนากร  ลัทธิ์ถีระสุวรรณ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.อิสรีย์  ฮาวปินใจ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ศิริลักษณ์  สุขเจริญ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธิติ  วานิชดิลกรัตน์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าจ้างเหมาเก็บข้อมูล smart farmer ที่อยู่ในฐานข้อมูลจังหวัดแพร่ และจัดทำระบบฐานข้อมูล จำนวน 1 งาน ๆ ละ 50,000 บาท เป็นเงิน 50,000 บาท
2. ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง (ค่าพาหนะ) จำนวน 20 ครั้ง ๆ ละ 100 กิโลเมตร ๆ ละ 4 บาท เป็นเงิน 8,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 58,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 58,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกพิมพ์ อุปกรณ์บันทึกข้อมูล ฯลฯ เป็นเงิน 7,000 บาท
2. ค่าวัสดุเกษตร เช่น ถุงเพาะกล้าไม้ สแลนสีดำ กรรไกรตัดกิ่ง ช้อนปลูก ฯลฯ เป็นเงิน 9,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 16,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 16,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 74000.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมย่อยที่ 1.2 เสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และจัดทำฐานเรียนรู้ Yung Smart Farmers ในระบบ Smart Farm Forestry

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 15/01/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.ธนากร  ลัทธิ์ถีระสุวรรณ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.อิสรีย์  ฮาวปินใจ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ศิริลักษณ์  สุขเจริญ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธิติ  วานิชดิลกรัตน์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าจ้างเหมาปรับปรุงทางระบายน้ำ จำนวน 1 งาน ๆ ละ 75,000 บาท เป็นเงิน 75,000 บาท
2. ค่าจ้างเหมาดูแลกำจัดวัชพืช แมลงและโรคพืชในพื้นที่ จำนวน 1 งาน ๆ ละ 20,000 บาท เป็นเงิน 20,000 บาท
3. ค่าจ้างเหมาปรับปรุงพื้นที่ Smart nursery จำนวน 1 งาน ๆ เป็นเงิน 75,000 บาท
4. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 40 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 120 บาท เป็นเงิน 4,800 บาท
5. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 40 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 2,800 บาท
6. ค่าจ้างเหมาจัดทำป้ายไวนิล เป็นเงิน 3,446 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 181,046.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 181,046.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคอภิปรายเสวนา (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 2 คน ๆ ละ 6 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 7,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 7,200.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 188246.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการ และจัดทำฐานเรียนรู้ Yong Smart Famers ในระบบ Smart Crop Product Technology

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 15/01/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ละออทิพย์  นะโลกา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.พัชรณัฐ  ดาวดึงษ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสารประกอบการอบรม จำนวน 25 ชุด ๆ ละ 70 บาท จำนวน 2 ครั้ง เป็นเงิน 3,500 บาท
2. ค่าจ้างเหมาจัดทำป้ายไวนิล จำนวน 3 ป้าย ๆ ละ 1,500 บาท เป็นเงิน 4,500 บาท
3. ค่าจ้างเหมาปรับพื้นที่แปลงสาธิต ระบบ Smart crop production technology จำนวน 2 งาน ๆ ละ 8,000 บาท เป็นเงิน 16,000 บาท
4. ค่าจ้างเหมาติดตั้งระบบให้น้ำอัจฉริยะภาคการเกษตร (IoT) จำนวน 2 ชุด ๆ ละ 15,000 บาท เป็นเงิน 30,000 บาท
5. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 25 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 120 บาท จำนวน 2 ครั้งเป็นเงิน 6,000 บาท
6. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 25 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท จำนวน 2 ครั้ง เป็นเงิน 3,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 63,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 63,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคบรรยาย (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 2 คน ๆ ละ 3 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท จำวน 2 ครั้ง เป็นเงิน 7,200 บาท
2. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคปฏิบัติ (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 3 คน ๆ ละ 3 ชั่วโมงๆ ละ 300 บาท จำนวน 2 ครั้ง เป็นเงิน 5,400 บาท
3. ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 5 คน ๆ ละ 1 วัน ๆ ละ 200 บาท จำนวน 2 ครั้ง เป็นเงิน 2,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 14,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 14,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ ปากกา ดินสอ ปากกาไวท์บอร์ด กาว ดินสอสีไม้ และอื่น ๆ เป็นต้น เป็นเงิน 6,000 บาท
2. ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ หมึกพิมพ์ เป็นต้น เป็นเงิน 5,600 บาท
3. ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เช่น ถังน้ำ กะละมัง ถุงพลาสติก ถุงซิป ตระกร้า กล่องพลาสติก มีด เขียง และอื่นๆ เป็นต้น เป็นเงิน 8,000 บาท
4. ค่าวัสดุเกษตร เช่น ท่อนพันธุ์ เมล็ดพันธุ์ วัสดุเตรียมพื้นที่ และวัสดุปลูก และวัสดุและอุปกรณ์ดูแลรักษา เป็นเงิน 32,300 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 51,900.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 51,900.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 130000.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 3 การพัฒนาและส่งเสริม young smart farmers ในระบบ smart animal technology
กิจกรรมย่อยที่ 3.1 การจัดทำฐานเรียนรู้ Smart feed for farm (สัตว์ปีก)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 15/01/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิชิตร์  วรรณคำ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุเกษตร เช่น ลูกไก่ อุปกรณ์ให้น้ำให้อาหารไก่ อาหารไก่ เป็นต้น เป็นเงิน 56,000 บาท
2. ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์และการแพทย์ เช่น วัคซีน เวชภัณฑ์ยา เป็นต้น เป็นเงิน 9,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 65,000.00 บาท 0.00 บาท 65,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 65000.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมย่อยที่ 3.2 การอบรมเชิงปฏิบัติการ “การเพิ่มประสิทธิภาพการเลี้ยงสัตว์โดยใช้อาหารคุณภาพดี”

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 15/01/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดุจดาว  คนยัง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสารประกอบการอบรม จำนวน 20 ชุด ๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท
2. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 20 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 120 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท
3. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 20 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 1,400 บาท
4. ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง
4.1 ค่าเบี้ยเลี้ยง จำนวน 3 วัน ๆ ละ 240 บาท เป็นเงิน 720 บาท
4.2 ค่าพาหนะ จำนวน 3 ครั้ง ๆ ละ 80 กิโลเมตร ๆ ละ 4 บาท เป็นเงิน 960 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 6,480.00 บาท 0.00 บาท 6,480.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคบรรยาย (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 2 คน ๆ ละ 4 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 4,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 4,800.00 บาท 0.00 บาท 4,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เป็นเงิน 3,000 บาท
2. ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์และการแพทย์ เป็นเงิน 25,000 บาท
3. ค่าวัสดุเกษตร เป็นเงิน 23,000 บาท
4. ค่าวัสดุเชื้อเพลิง 2,720 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 53,720.00 บาท 0.00 บาท 53,720.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 65000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ศัตรูของการเลี้ยงไก่ สุนัข แมว และ งู
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ปรับปรุงโรงเรือนและบริเวณลานปล่อยให้สามารถป้องกันได้
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
รายการเอกสารประกอบ
ย.002 โครงการ Yong Smart Farmer.pdf
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล