21180 : โครงการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพเกษตรกรสู่การเป็นผู้ประกอบการอาหารปลอดภัย
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการในลักษณะโครงการ (Project base) เพื่อบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
15/01/2567  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  100  คน
รายละเอียด  เกษตรกรที่สนใจ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้รับจริงสูงกว่ารายจ่ายจริง (เงินเหลือจ่าย) ประเภทเงินอุดหนุนจากรัฐบาล แผนงานบูรณาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562-2563 (เงินสะสมเพื่อขับเคลื่อนโครงการยุทธศาสตร์เชิงบูรณาการ) 2567 368,398.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 1.2 ความสำเร็จของการเป็นมหาวิทยาลัยแห่งชีวิต (GO. Eco U.)
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 1.2.1 ความสำเร็จของยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์ (Organic University)
กลยุทธ์ 67-70 MJU 1.2.1.1 กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่มหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์ที่ชัดเจน และขับเคลื่อนกิจกรรม รวมทั้งติดตามประเมินผลอย่างเป็นระบบ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-6 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
เป้าประสงค์ 67-6.1 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
ตัวชี้วัด 67-6.1.2 ความสำเร็จของยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์ (Organic University)
กลยุทธ์ 67-6.1.2.1 กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่มหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์ที่ชัดเจน และขับเคลื่อนกิจกรรมที่เกี่ยวข้องติดตามประเมินผลอย่างเป็นระบบ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันเกษตรอินทรีย์ทั่วโลกมีอัตราการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วและผลผลิตเป็นที่ต้องการของผู้บริโภคทั้งในและนอกประเทศมากขึ้นตามลำดับ โดยเฉพาะประเทศญี่ปุ่น สหภาพยุโรป และสหรัฐอเมริกา รัฐบาลไทยได้กำหนดนโยบายส่งเสริมเกษตรอินทรีย์เพื่อสร้างรายได้ ฟี้นฟูความเข้มแข็งของเกษตรกรและเพิ่มขีดความสามารถของภาคเกษตรในตลาดโลก ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 และมติคณะรัฐมนตรีเห็นชอบในหลักการของยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์ให้เป็นวาระแห่งชาติในปี พ.ศ. 2548 อีกทั้งให้ความสำคัญอย่างยิ่งกับการพัฒนาเกษตรอินทรีย์ซึ่งมีความสอดคล้องกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริ ซึ่งเป็นทางเลือกของการพัฒนาไปสู่ประโยชน์สุขของคนและสังคมอย่างยั่งยืน ปัญหาการพัฒนาเกษตรกรรมแผนใหม่ภายหลังการปฏิวัติเขียว (Green Revolution) ที่ก่อให้เกิดกระแสเกษตรเชิงเดี่ยว หรือเกษตรเคมีที่เน้นผลิตพืชประเภทเดียวเป็นหลักหรือเน้นผลิตพืชที่ให้ผลผลิตสูงสุด โดยพึงพาปัจจัยภายนอกทั้งสารกำจัดศัตรูพืชและปุ๋ยเคมีสังเคราะห์ ซึ่งส่งผลกระทบทางลบมากขึ้นต่อเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมของประเทศ ทำให้เกิดแนวคิดการพัฒนาเกษตรกรรมอย่างยั่งยืน ความยั่งยืน (Sustainability) หมายถึง ศักยภาพในการผลิตที่ดำรงอยู่อย่างต่อเนื่องโดยไม่ทำให้ฐานทรัพยากร ทรุดโทรมหรือสูญสิ้นไป และสามารถยกระดับมาตรฐานการครองชีพพร้อมกับคุณภาพชีวิตของเกษตรกร ด้วยเกษตรยั่งยืนจึงเน้น “ความมั่นคง” เป็นหลัก มีกรอบแนวคิดที่กว้าง และมีความเป็นอิสระในรูปแบบการปฏิบัติที่ครอบคลุมเกษตรกรรมหลายระบบในปัจจุบัน เช่น เกษตรปลอดสารเคมี เกษตรผสมผสาน เกษตรธรรมชาติ วนเกษตร เกษตรเชิงพลวัตร เกษตรทฤษฎีใหม่ รวมทั้ง เกษตรอินทรีย์ เกษตรอินทรีย์มีรากฐานจากวิถีเกษตรดั้งเดิมของบรรพบุรุษไทย ตั้งแต่เริ่มมีการเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ ซึ่งไม่ใช้สารเคมี โดยมีหลักการและเทคนิคเฉพาะที่แตกต่างจากระบบเกษตรยั่งยืนอื่น ๆ คือ เกษตรอินทรีย์เน้นทำการเกษตรที่มี“ความมั่นคงและปลอดภัย” ด้วยการสร้างสมดุลและอนุรักษ์ธรรมชาติ ไม่ใช้สารเคมีสังเคราะห์ทุกชนิด เพื่อผลิต อาหารที่มี่คุณภาพสูงทางโภชนาการ และปลอดภัยต่อสุขภาพ ขณะเดียวกันมีการฟื้นฟูระบบนิเวศเกษตรด้วยการปรับปรุงบำรุงดินจากอินทรีย์วัตถุ ได้แก่ ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก ปุ๋ยชีวภาพ พร้อมทั้งสร้างความหลากหลายทางชีวภาพ ไม่ใช้พันธุ์พืชและสัตว์ที่มี่การดัดแปลงทางพันธุกรรม รวมทั้งสร้างระบบควบคุมมลพิษภายในฟาร์มและป้องกันการปนเปื้อนจากภายนอก นอกจากนี้ลักษณะเด่นที่สำคัญอีกประการหนึ่ง ของเกษตรอินทรีย์ คือ เน้น “การบริหารจัดการ” ที่ให้เกษตรกรสามารถพึ่งพาตนเองทางด้านปัจจัยการผลิตและการสนองความต้องการของตลาด เพื่อเป็นหลักประกันต่อผู้ผลิตและสร้างความมั่นใจแก่ผู้บริโภค โดยมีกระบวนการตรวจสอบและรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ตลอดทั้งกระบวนการ เริ่มตั้งแต่การผลิต การแปรรูป การบรรจุภัณฑ์ และการขนส่งถึงผู้บริโภคตามข้อกำหนดที่เป็นมาตรฐานสากล โดยองค์กรที่ได้รับการเชื่อถือ อีกทั้ง เน้น “ความเป็นธรรม” ในการดำเนินธุรกิจร่วมกัน มีความโปร่งใสในการจัดการ เท่าเทียมกันในการจ้างงาน เคารพในวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และมีกระบวนการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง จากหลักการที่ชัดเจนและข้อกำหนดที่เป็นมาตรฐานสากลของการทำเกษตรอินทรีย์ การพัฒนาระบบเกษตรอินทรีย์ของประเทศไทยให้ประสบความสำเร็จและสามารถแข่งขันในตลาดโลกได้อย่างแท้จริง จำเป็นต้องอาศัยองค์ความรู้หลากหลายในเชิงสหวิทยาการทั้งที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐาน และองค์ความรู้ใหม่ โดยเน้นการเสริมสร้างทักษะให้กับบุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายในด้านการจัดการธุรกิจ การตลาดเชิงกลยุทธ์ และเทคนิคการดำเนินการที่มีประสิทธิภาพภายใต้การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของยุคโลกาภิวัตน์ด้วยอุดมการณ์ที่เน้นการพึ่งตนเอง รับผิดชอบต่อสังคม และอนุรักษ์สภาพแวดล้อมธรรมชาติ เพื่อให้การพัฒนาเกษตรอินทรีย์ของประเทศไทยสามารถแข่งขันอย่างยั่งยืนในเวทีการค้าโลก เสริมสร้างคุณภาพชีวิตชุมชนและผู้บริโภคทั้งในและต่างประเทศ ตลอดจนสร้างโอกาสการพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางด้านเกษตรอินทรีย์ของโลกในอนาคต มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ถือเป็นหน่วยงานที่มีความพร้อมทั้งทางด้านพื้นที่ บุคลากรในการส่งเสริมการเกษตรอินทรีย์ ซึ่งจะช่วงส่งเสริมและถ่ายทอดองค์ความรู้ให้แก่เกษตรกร ให้สามารถผลิตพืชอินทรีย์ ได้ตามมาตรฐานที่ตลาดต้องการหรือมาตรฐานสากล และเพื่อสนับสนุนและพัฒนาการ สร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจให้กับการทำเกษตรอินทรีย์ที่นำไปสู่การจำหน่ายเชิงพาณิชย์ ที่สร้างผู้ประกอบการเกษรอินทรีย์ได้ ซึ่งจะเป็นการขับเคลื่อนการพัฒนาเกษตรอินทรีย์สู่ความมั่นคงทางสุขภาพและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน สามารถเป็นแหล่งเรียนรู้และสร้างรายได้ให้กับมหาวิทยาลัยและชุมชน พร้อมทั้งนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ต่อยอดในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และนวัตกรรมต่าง ๆ เพื่อขยายโอกาสและเพิ่มช่องทางการตลาดให้มากขึ้น มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ จึงได้เสนอโครงการ “ส่งเสริมและพัฒนาเกษตรรุ่นใหม่ สู่การเป็นผู้ประกอบการเกษตรอินทรีย์อย่างยั่งยืน”โดยมีกิจกรรม/โครงการที่สอดคล้องสนับสนุนกับทางมหาวิทยาลัยและดำเนินการตามกลยุทธ์ ตัวชี้วัด เป้าประสงค์ และยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย ได้แก่ ส่งเสริมและพัฒนาเกษตรรุ่นใหม่ สู่การเป็นผู้ประกอบการเกษตรอินทรีย์อย่างยั่งยืน ,การพัฒนาและต่อยอด ด้านเกษตรอินทรีย์, ทุนสนับสนุนการพัฒนาผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์จำหน่ายเชิงพาณิชย์และเพื่อสร้างเครือข่ายเกษตรอินทรีย์ เป็นการดำเนินกิจในโครงการที่สอดคล้องและครอบคลุมตั้งแต่ต้นทาง กลางทางและปลายทาง เพื่อให้มหาวิทยาลัยเป็นที่ถ่ายทอดองค์ความรู้ พัฒนานักศึกษา บุคลากร ศิษย์เก่ารวมถึงประชาชนได้อย่างสมบูรณ์

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพเกษตรสู่การเป็นผู้ประกอบการอาหารปลอดภัย
2. เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านอาหารปลอดภัยสู่ชุมชน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : โครงการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพเกษตรกรสู่การเป็นผู้ประกอบการอาหารปลอดภัย
KPI 1 : - ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : จำนวนแปลงที่ได้รับการตรวจรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์สากล (IFOAM) ในพื้นที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 แปลง 1
KPI 3 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.368398 ล้านบาท 0.368398
KPI 4 : จำนวนต้นแบบแปลงที่ได้รับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์สากล (IFOAM)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 แปลงต้นแบบ 1
KPI 5 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : จำนวนผู้เข้ารับการอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 คน 100
KPI 7 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 8 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : โครงการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพเกษตรกรสู่การเป็นผู้ประกอบการอาหารปลอดภัย
ชื่อกิจกรรม :
1. อบรมเชิงปฏิบัติการ ”การถ่ายทอดองค์ความรู้การเลี้ยงไก่ไข่อินทรีย์”

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 15/01/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรศิลป์  มาลัยทอง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดุจดาว  คนยัง (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์มรกต  วงศ์หน่อ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิศรา  วัฒนนภาเกษม (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายสมศักดิ์  กันถาด (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายวงศ์วริศ  วงศ์นาค (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายภาสกร  อัมพรสวัสดิ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรม) จำนวน 20 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 150 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรม) จำนวน 20 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 1,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 4,400.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคบรรยาย (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 1 คน ๆ ละ 3 ชม.ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
2. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคปฏิบัติ (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 2 คน ๆ ละ 3 ชม.ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุเกษตร เป็นเงิน 57,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 57,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 57,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 65000.00
ชื่อกิจกรรม :
2. อบรมเชิงปฏิบัติการ “การถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการแปรรูปอาหาร”

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 15/01/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.พัตรเพ็ญ  เพ็ญจำรัส (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รัฐพงศ์  ปกแก้ว (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.สุภารัตน์  อำนาจ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายอนุกูล  จันทร์แก้ว (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางสุรัลชนา  มะโนเนือง (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.อังคณา  ชมภูมิ่ง (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.บังอร  ปินนะ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรม) จำนวน 20 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 150 บาท จำนวน 2 ครั้ง เป็นเงิน 6,000 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรม) จำนวน 20 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท จำนวน 2 ครั้ง เป็นเงิน 2,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 8,800.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคปฏิบัติ (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 3 คน ๆ ละ 6 ชม.ๆ ละ 300 บาท จำนวน 2 ครั้ง เป็นเงิน 10,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 10,800.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุงานบ้านงานงานครัว เป็นเงิน 55,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 55,400.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 55,400.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 75000.00
ชื่อกิจกรรม :
3. อบรมเชิงปฏิบัติการ “การถ่ายทอดองค์ความรู้การผลิตผักอินทรีย์”

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 15/01/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายกิติพงษ์  วุฒิญาณ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.อนุวัฒน์  จรัสรัตนไพบูลย์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายสิทิไวกูล  ทิราวงศ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายอนุกูล  จันทร์แก้ว (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางธนันธรณ์  วุฒิญาณ (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.ถิรนันท์  กิติคู้ (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.อภิญญา  ชุ่มอินถา (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรม) จำนวน 30 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 150 บาท เป็นเงิน 4,500 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรม) จำนวน 30 คน ๆ ละ 2 มื้อๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 2,100 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 6,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคบรรยาย (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 1 คน ๆ ละ 3 ชม.ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
2. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคปฏิบัติ (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 2 คน ๆ ละ 3 ชม.ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุเกษตร เป็นเงิน 54,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 54,800.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 54,800.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 65000.00
ชื่อกิจกรรม :
4. การตรวจรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์สากล (IFOAM)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 15/01/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ตะวัน  ฉัตรสูงเนิน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.อนุวัฒน์  จรัสรัตนไพบูลย์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายอนุกูล  จันทร์แก้ว (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายสิทิไวกูล  ทิราวงศ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายกิติพงษ์  วุฒิญาณ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าจ้างเหมาการตรวจรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์สากล (IFOAM) จำนวน 1 งาน ๆ ละ 70,000 บาท เป็นเงิน 70,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 70,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 70,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 70000.00
ชื่อกิจกรรม :
5. อบรมเชิงปฏิบัติการ “การส่งเสริมและพัฒนาการเป็นผู้ประกอบการ อาหารและเครื่องดื่ม”

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 15/01/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.วีรนันท์  ไชยมณี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ศรายุทธ  ตรีรัตน์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ธีราพัฒน์  จักรเงิน (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.รัชนีวรรณ  คำตัน (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางธนันธรณ์  วุฒิญาณ (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.ถิรนันท์  กิติคู้ (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.อภิญญา  ชุ่มอินถา (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรม) จำนวน 30 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 150 บาท จำนวน 2 ครั้ง เป็นเงิน 9,000 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรม) จำนวน 30 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท จำนวน 2 ครั้ง เป็นเงิน 4,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 13,200.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 13,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคบรรยาย (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 1 คน ๆ ละ 3 ชม.ๆ ละ 600 บาท จำนวน 2 ครั้ง เป็นเงิน 3,600 บาท
2. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคปฏิบัติ (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 2 คน ๆ ละ 3 ชม.ๆ ละ 300 บาท จำนวน 2 ครั้ง เป็นเงิน 3,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 7,200.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เป็นเงิน 72,998 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 72,998.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 72,998.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 93398.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล