21179 : โครงการ การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของฟาร์มโคเนื้อของเกษตรกร
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/11/2566  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  30  คน
รายละเอียด  เกษตรกรผู้เลี้ยงโคเนื้อในจังหวัดแพร่
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบบริการวิชาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 ของสำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 2567 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ดุจดาว  คนยัง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ มรกต  วงศ์หน่อ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.3.1.2 ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-6 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
เป้าประสงค์ 67-6.5 การพัฒนาตามยุทธศาสตร์ / อัตลักษณ์ / ภารกิจเฉพาะของส่วนงาน
ตัวชี้วัด 67-6.5.1 จำนวนงบประมาณโครงการบริการวิชาการจากแหล่งทุนภายใน
กลยุทธ์ 67-6.5.1.1 ผลักดันให้บุคลากรแสวงหางบประมาณโครงการบริการวิชาการจากแหล่งทุนภายในของส่วนงานและมหาวิทยาลัย อาทิเช่น โครงการสนองงานในพระราชดำริ/ โครงการอพ.สธ. /โครงการภายใต้เศรษฐกิจพอเพียง/โครงการภายใต้สน.วิจัย และอื่นๆ ในประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ในปัจจุบันการเลี้ยงโคเนื้อในประเทศไทย ได้รับการส่งเสริมจากรัฐบาลมากขึ้นมีทั้งระบบการเลี้ยงทั้งแบบเชิงธุรกิจกล่าวคือเลี้ยงตามหลักวิชาการโดยมุ่งเน้นที่การพัฒนาและปรับปรุงสายพันธุ์เพื่อให้ได้เนื้อที่มีคุณภาพดี มีตั้งแต่ฟาร์มขนาดกลางไปจนถึงฟาร์มขนาดใหญ่ส่วนมากมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาและปรับปรุงสายพันธุ์โค ในจังหวัดแพร่ก็เช่นกันได้มีโครงการส่งเสริมการเลี้ยงโคเนื้อคุณภาพดีตั้งแต่ปี ๒๕๕๔ และดำเนินการมาอย่างต่อเนื่อง ทำให้ในปัจจุบันมีการเลี้ยงโคเนื้อลูกผสมกันอย่างแพร่หลายในจังหวัดแพร่ อย่างไรก็ตามเกษตรกรผู้เริ่มต้นเลี้ยงโคหลายรายยังขาดประสบการณ์ในการเลี้ยงโค ทำให้เกิดการสูญเสียโคจากโรคระบาด หรือการให้ผลผลิตไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่ควรจะเป็น ดังนั้น โครงการนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ในด้านการจัดการโคเนื้อที่สำคัญให้แก่เกษตรกร อาทิเช่นการจัดการด้านสุขภาพ การจัดการด้านอาหาร เพื่อนำไปสู่การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของฟาร์มเกษตรกร ให้มีรายได้เพิ่มมากขึ้นตามลำดับ นับว่าเป็นการส่งเสริมการพึ่งพาตนเองของเกษตรกร ให้เกษตรกรสามารดำรงชีพอยู่ได้อย่างมั่นคงเป็นปึกแผ่นนั้น ตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรง คือ ทรงมุ่งช่วยเหลือพัฒนาให้เกิดการพึ่งตนเองได้ของคน

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ในการจัดการฟาร์มโคเนื้อเพื่อให้เกษตรกรนำไปใช้ในการเพิ่มผลผลิตของฟาร์ม
2. เพื่อถ่ายทอดการใช้นวัตกรรมในการเพิ่มผลผลิตของฟาร์มโคเนื้อให้แก่เกษตรกรผู้เลี้ยงโคเนื่อในจังหวัดแพร่
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : เทคนิค/นวัตกรรมด้านการจัดการฟาร์มโคเนื้อเพื่อเพิ่มผลผลิตของฟาร์ม
KPI 1 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
70 ร้อยละ 70
KPI 3 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.028 0.01788 0.00412 ล้านบาท 0.05
KPI 4 : ร้อยละของผลผลิตของฟาร์มเกษตรกรเพิ่มขึ้น
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 ร้อยละ 50
KPI 5 : ร้อยละของรายได้ที่เพิ่มขึ้น
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
5 ร้อยละ 5
KPI 6 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 7 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้ด้านการจัดการฟาร์มโคเนื้อเพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 8 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 คน 30
KPI 9 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : เทคนิค/นวัตกรรมด้านการจัดการฟาร์มโคเนื้อเพื่อเพิ่มผลผลิตของฟาร์ม
ชื่อกิจกรรม :
1. การอบรม เรื่อง “การจัดการฟาร์มเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเลี้ยงโคเนื้อ ”

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดุจดาว  คนยัง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์มรกต  วงศ์หน่อ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุรพงษ์  ทองเรือง (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิชิตร์  วรรณคำ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรศิลป์  มาลัยทอง (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายวงศ์วริศ  วงศ์นาค (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายสมศักดิ์  กันถาด (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายภาสกร  อัมพรสวัสดิ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรม) จำนวน 30 คน ๆ ละ 1 วัน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 100 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรม) จำนวน 30 คน ๆ ละ 1 วัน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 2,100 บาท
3. ค่าจ้างเหมาจัดทำคู่มือฝึกอบรม จำนวน 1 เรื่อง ๆ ละ 30 เล่ม ๆ ละ 40 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 6,300.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,300.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคบรรยาย (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 2 คน ๆ ละ 4 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 4,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 4,800.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุเกษตร เช่น อาหารสัตว์ กากน้ำตาล เป็นเงิน 6,900 บาท
2. ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์และการแพทย์ เช่น ยาถ่ายพยาธิ เข็มฉีดยา ไซริ้งค์ เป็นเงิน 10,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 16,900.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 16,900.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 28000.00
ชื่อกิจกรรม :
2. การอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การใช้นวัตกรรมในการเพิ่มผลผลิตของฟาร์มโคเนื้อ ”

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดุจดาว  คนยัง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์มรกต  วงศ์หน่อ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุรพงษ์  ทองเรือง (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรศิลป์  มาลัยทอง (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิชิตร์  วรรณคำ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายวงศ์วริศ  วงศ์นาค (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายสมศักดิ์  กันถาด (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายภาสกร  อัมพรสวัสดิ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรม) จำนวน 30 คน ๆ ละ 1 วัน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 100 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรม) จำนวน 30 คน ๆ ละ 1 วัน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 2,100 บาท
3. ค่าจ้างเหมาจัดทำคู่มือฝึกอบรม จำนวน 1 เรื่อง ๆ ละ 30 เล่ม ๆ ละ 40 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 6,300.00 บาท 0.00 บาท 6,300.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคปฏิบัติ (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 3 คน ๆ ละ 7 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 6,300 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 6,300.00 บาท 0.00 บาท 6,300.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์และการแพทย์ เช่น ถุงมือล้วงผสมเทียม ฮอร์โมนสังเคราะห์ เป็นเงิน 5,280 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 5,280.00 บาท 0.00 บาท 5,280.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 17880.00
ชื่อกิจกรรม :
3. ติดตามผลจากการถ่ายทอดองค์ความรู้และนำเทคโนโลยีไปใช้ในการดำเนินงาน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดุจดาว  คนยัง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์มรกต  วงศ์หน่อ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง
1.1 ค่าเบี้ยเลี้ยง จำนวน 2 คน ๆ ละ 8 วัน ๆ ละ 120 บาท เป็นเงิน 1,920 บาท
1.2 ค่าพาหนะเดินทางไป-กลับ จำนวน 8 ครั้ง ๆ ละ 50 กิโลเมตร ๆ ละ 4 บาท เป็นเงิน 1,600 บาท
2. ค่าจ้างเหมาจัดทำรายงานโครงการฉบับสมบูรณ์ จำนวน 2 เล่ม ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,120.00 บาท 4,120.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 4120.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
อาจได้รับข้อมูลบางกลุ่ม/ฟาร์มโคเนื้อทำให้ไม่ครอบคลุม
มีงานอื่นในหมู่บ้าน กิจกรรมทางศาสนาในชุมชน ทำให้เกษตรกรไม่สามารถเข้าร่วมได้
มีการเกิดโรคระบาดในฟาร์ม ทำให้เข้าพื้นที่ไม่ได้
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
สอบถามจากหลายๆฟาร์ม
หลีกเลี่ยงช่วงเวลาที่คาดว่าจะจัดกิจกรรม
ใช้การสอบถามข้อมูลจากเจ้าของฟาร์มแทนการลงพื้นที่ฟาร์ม
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ในการดำเนินการครั้งนี้จะมีการพานักศึกษาไปฝึกปฏิบัติซึ่งสอดรับกับรายวิชาในหลักสูตร ได้แก่ รายวิชา ผส330 การจัดการฟาร์มโคนมโคเนื้อ และ รายวิชา ผส230เทคโนโลยีการผลิตโคนมโคเนื้อ เป็นต้น
ช่วงเวลา : 01/11/2566 - 30/09/2567
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล