21178 : โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้การทำเกษตรอินทรีย์
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการในลักษณะโครงการ (Project base) เพื่อบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
03/01/2567  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  นักศึกษา บุคลากร มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ฯ /นักเรียน/เกษตรกร/ประชาชนทั่วไปที่สนใจ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้รับจริงสูงกว่ารายจ่ายจริง (เงินเหลือจ่าย) ประเภทเงินอุดหนุนจากรัฐบาล แผนงานบูรณาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562-2563 (เงินสะสมเพื่อขับเคลื่อนโครงการยุทธสาสตร์เชิงบูรณาการ)
2567 174,084.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ตะวัน  ฉัตรสูงเนิน
นาย กิติพงษ์  วุฒิญาณ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 1.2 ความสำเร็จของการเป็นมหาวิทยาลัยแห่งชีวิต (GO. Eco U.)
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 1.2.1 ความสำเร็จของยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์ (Organic University)
กลยุทธ์ 67-70 MJU 1.2.1.1 กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่มหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์ที่ชัดเจน และขับเคลื่อนกิจกรรม รวมทั้งติดตามประเมินผลอย่างเป็นระบบ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-6 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
เป้าประสงค์ 67-6.1 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
ตัวชี้วัด 67-6.1.2 ความสำเร็จของยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์ (Organic University)
กลยุทธ์ 67-6.1.2.1 กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่มหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์ที่ชัดเจน และขับเคลื่อนกิจกรรมที่เกี่ยวข้องติดตามประเมินผลอย่างเป็นระบบ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

“เกษตรอินทรีย์” เป็นระบบการผลิตที่ให้ความสำคัญกับ ความยั่งยืนของสุขภาพดิน ระบบนิเวศ และผู้คน เกษตรอินทรีย์พึ่งพาอาศัยกระบวนการทางนิเวศวิทยา ความหลากหลายทางชีวภาพ และวงจรธรรมชาติ ที่มีลักษณะเฉพาะของแต่ละพื้นที่ แทนที่จะใช้ปัจจัยการผลิตที่มีผลกระทบทางลบ เกษตรอินทรีย์ผสมผสานองค์ความรู้พื้นบ้าน นวัตกรรม และความรู้ทางวิทยาศาสตร์ในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และส่งเสริมความสัมพันธ์ที่เป็นธรรม และคุณภาพชีวิตที่ดีของทุกผู้คนและสิ่งมีชีวิตต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ปัจจัยการผลิตในการทำเกษตร ไม่ว่าจะเป็น ดิน ปุ๋ย สารชีวภัณฑ์ ฯลฯ ล้วนมีผลต่อทั้งการเจริญเติบโตของพืชและต้นทุนการผลิตของเกษตรกรทั้งสิ้น ด้านปัจจัยการผลิต ได้แก่ สารชีวภัณฑ์ (Biocontrol) โดยมุ่งเน้นการใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์ที่สามารถควบคุมการระบาดของแมลงศัตรูพืชหลายชนิดได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น ราบิวเวอเรีย ไวรัสเอ็นพีวี (NPV) นอกจากนี้ยังมีเทคโนโลยีการจัดการดิน ซึ่งเป็นปัจจัยหลักในการทำเกษตร ที่ช่วยปรับปรุงโครงสร้าง และเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ให้ดิน ช่วยย่อยอินทรียวัตถุในดิน อีกทัั้งเพิ่มจุลินทรีย์และธาตุอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อพืช มหาวิทยาลัยแม่โจ้ -แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ถือเป็นหน่วยงานที่มีความพร้อมทั้งทางด้านพื้นที่ บุคลากร ในการส่งเสริมการเกษตรอินทรีย์ ซึ่งจะช่วยส่งเสริม และถ่ายทอดองค์ความรู้ให้แก่เกษตรกร ในด้านการผลิตสารชีวภัณฑ์เพื่อใช้ในระบบเกษตรได้ ซึ่งจากการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ยังขาดการสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงาน และเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพ เพื่อสนับสนุน และพัฒนาการ สร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจให้กับการทำเกษตรอินทรีย์ ซึ่งจะเป็นการขับเคลื่อนการพัฒนาเกษตรอินทรีย์และการทำเกษตรอินทรีย์สู่ความมั่นคงทางสุขภาพและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน สามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับชุมชนโดยเฉพาะในกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน พร้อมทั้งนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ต่อยอดในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และนวัตกรรมต่างๆ ต่อไปในอนาคต

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีและบริการวิชาการที่บูรณาการร่วมกับการเรียนการสอนด้านเกษตรอินทรีย์
2. เพื่อพัฒนาและสร้างเครือข่ายเกษตรกรด้านเกษตรอินทรีย์
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้การทำเกษตรอินทรีย์
KPI 1 : จำนวนผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 ผลิตภัณฑ์ 10
KPI 2 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 3 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เกี่ยวกับการผลิตสาร ชีวภัณฑ์/ปุ๋ยอินทรีย์เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
70 ร้อยละ 70
KPI 4 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 คน 50
KPI 6 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
174084 บาท 174084
KPI 7 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เกี่ยวกับการผลิตพืชผักอินทรีย์เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
70 ร้อยละ 70
KPI 8 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้การทำเกษตรอินทรีย์
ชื่อกิจกรรม :
อบรมเชิงปฏิบัติการ “การผลิตพืชผักอินทรีย์”

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 03/01/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายกิติพงษ์  วุฒิญาณ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.อนุวัฒน์  จรัสรัตนไพบูลย์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายอนุกูล  จันทร์แก้ว (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางธนันธรณ์  วุฒิญาณ (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.ถิรนันท์  กิติคู้ (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.อภิญญา  ชุ่มอินถา (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายสิทิไวกูล  ทิราวงศ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรม) จำนวน 50 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 150 เป็นเงิน 7,500 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรม) จำนวน 50 คน ๆ ละ 2 มื้อๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 3,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 11,000.00 บาท 0.00 บาท 11,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคบรรยาย (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 1 คน ๆ ละ 3 ชม.ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
2. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคปฏิบัติ (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 2 คน ๆ ละ 3 ชม.ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุเกษตร เป็นเงิน 50,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 50,000.00 บาท 0.00 บาท 50,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 64600.00
ชื่อกิจกรรม :
อบรมเชิงปฏิบัติการ “การผลิตสารชีวภัณฑ์/ปุ๋ยอินทรีย์”

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 03/01/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ตะวัน  ฉัตรสูงเนิน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายอนุกูล  จันทร์แก้ว (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.อนุวัฒน์  จรัสรัตนไพบูลย์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายกิติพงษ์  วุฒิญาณ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายสิทิไวกูล  ทิราวงศ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรม) จำนวน 50 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 150 เป็นเงิน 7,500 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรม) จำนวน 50 คน ๆ ละ 2 มื้อๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 3,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 11,000.00 บาท 0.00 บาท 11,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคบรรยาย (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 1 คน ๆ ละ 3 ชม.ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
2. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคปฏิบัติ (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 2 คน ๆ ละ 3 ชม.ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์และการแพทย์ เป็นเงิน 50,000 บาท
2. ค่าวัสดุเกษตร เป็นเงิน 44,884 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 94,884.00 บาท 0.00 บาท 94,884.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 109484.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
รายวิชา กช 321 เศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาที่ยั่งยืน/ผษ 101 เกษตรเพื่อชีวิต/ทพ261 ปฏิบัติงานฟาร์ม2 /ทพ330 เทคโนโลยีการผลิตไม้ผลอุตสาหกรรม/ทพ322 เทคโนโลยีการผลิตพืชสมุนไพร /ทพ260 ปฏิบัติงานฟาร์ม1
ช่วงเวลา : 03/01/2567 - 30/09/2567
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล