21175 : โครงการฐานเรียนรู้การผลิตพืชเพาะงอก (ไมโครกรีน)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/11/2566  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  185  คน
รายละเอียด  นักศึกษา บุคลากร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ – แพร่ฯ เกษตรกร และประชาชนทั่วไปที่สนใจในจังหวัดแพร่
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบบริการวิชาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 ของสำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 2567 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. ละออทิพย์  นะโลกา
อาจารย์ ดร. ศิริโสภา อินขะ  วรรณวงศ์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 1.2 ความสำเร็จของการเป็นมหาวิทยาลัยแห่งชีวิต (GO. Eco U.)
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 1.2.1 ความสำเร็จของยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์ (Organic University)
กลยุทธ์ 67-70 MJU 1.2.1.1 กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่มหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์ที่ชัดเจน และขับเคลื่อนกิจกรรม รวมทั้งติดตามประเมินผลอย่างเป็นระบบ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-6 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
เป้าประสงค์ 67-6.5 การพัฒนาตามยุทธศาสตร์ / อัตลักษณ์ / ภารกิจเฉพาะของส่วนงาน
ตัวชี้วัด 67-6.5.3 จำนวนโครงการบริการวิชาการ ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาลัยด้าน Organic Green Eco
กลยุทธ์ 67-6.5.3.1 ส่งเสริมและยกระดับโครงการบริการวิชาการที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาลัยด้าน Organic Green Eco
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

การตระหนักถึงการบริโภคอาหารปลอดภัยในปัจจุบันนั้นถือว่ามีความสำคัญมาก เนื่องด้วยโดยสถานการณ์ในปัจจุบันซึ่งอยู่ในยุคข้าวยากหมากแพง ประชากร ชุมชน หรือเกษตรกรทุกคนจะต้องมีการปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว ซึ่งจะต้องดำรงชีพด้วยหลักการที่ต้องคำนึงถึงความปลอดภัย การผลิตพืชอาหารในปัจจุบัน จึงเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญมาก โดยเฉพาะการเลือกบริโภคให้มีความปลอดภัย การพัฒนาศักยภาพของเอง เพื่อให้มีองค์ความรู้ในการพัฒนาตนเองให้สามารถผลิตและบริโภคอาหารปลอดภัยจึงมีความสำคัญอีกประการหนึ่ง โดยมหาวิทยาลัยถือเป็นสถาบันที่สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้เหล่านี้ได้ โดยเฉพาะสามารถส่งเสริมและสนับสนุนให้ชุมชนยกระดับความเป็นอยู่ของชุมชนให้ดีขึ้นได้ ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ซึ่งมีนโยบายการถ่ายทอดองค์ความรู้ทางการเกษตรสู่ชุมชน เพื่อให้ชุมชนดำรงอยู่อย่างยั่งยืน สร้างวิชาชีพและสร้างรายได้ เพื่อเป็นการพัฒนาอาชีพและผลิตอาหารปลอดภัยมากยิ่งขึ้น และอาชีพการเพาะงอก (พืชไมโครกรีน) ถือว่าเป็นอาชีพที่สามารถพัฒนานำไปสู่กระบวนการผลิตและบริโภคอาหารปลอดภัยได้ อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมและให้องค์ความรู้แก่ชุมชนเพื่อการพัฒนาอาชีพ สร้างรายได้ และสามารถทำให้เกิดการเรียนรู้ในกระบวนการผลิตให้แก่ชุมชน จึงเป็นแนวทางที่จะสามารถส่งเสริมและชี้แนะแนวทางในการประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้ให้กับชุมชนและผู้ที่สนใจได้ในอนาคต ดังนั้นการส่งเสริมให้ชุมชนที่สนใจจึงเป็นอีกแนวทางหนึ่งที่จะช่วยสนับสนุนให้ชุมชนหรือกลุ่มเกษตรกรผู้สนใจได้เข้ามาได้รับการถ่ายทอดและร่วมเรียนรู้เพื่อให้เกิดประโยชน์ในการนำไปเป็นอาชีพเสริม และอาชีพหลักต่อไปได้ในอนาคต และสืบเนื่องจากงานบริการวิชาการประจำปี 2566 ที่ผ่านมา ทางผู้จัดได้รับการจัดสรรงบประมาณให้จัดทำโครงการบริการเรื่องฐานเรียนรู้การผลิตพืชจิ๋วไมโครกรีน และพบว่า ยังมีผู้ที่ให้ความสนใจที่จะฝึกอบรมเพื่อเพิ่มทักษะความรู้การผลิตพืชเพาะงอก (ไมโครกรีน) เพิ่มอีกเป็นจำนวนมาก ดังนั้น ในปี 2567 ทางผู้จัดจึงมีความคาดหวังว่าจะจัดตั้งโครงการดังกล่าวให้เป็นฐานการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยเพื่อที่จะสามารถรองรับและสามารถให้ความรู้กับผู้สนใจได้หลากหลายเพิ่มมากขึ้นกว่าเดิม ดังนั้นจึงเป็นที่มาของการขอเสนอโครงการนี้เพื่อเป็นการสอนต่อ ต่อยอด ให้เป็นแหล่งเรียนรู้แบบครบวงจร ให้กับ นักเรียน นักศึกษา เกษตร และผู้สนใจในการผลิตพืชเพาะงอก (ไมโครกรีน) เพื่อการค้าต่อไป พืชเพาะงอก /การผลิตต้นกล้าอ่อน ไมโครกรีน (Sprout / Microgreen) เพื่อการบริโภค ถือได้ว่าเป็นพืชอินทรีย์ที่ปลอดภัยจากสารเคมีตกค้างในผลผลิต เนื่องจากศัตรูพืชยังไม่มาทำลายเพราะใช้ระยะเวลาสั้นในการผลิต อีกทั้งผู้ผลิตดูแลอย่างใกล้ชิด ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อสุขภาพของผู้บริโภค โดยมีกรรมวิธีการผลิตที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อน สามารถเรียนรู้ได้เข้าใจง่ายอย่างรวดเร็ว การเพาะงอกพืชในปัจจุบันมีบทบาทความสำคัญอย่างมากต่อการเจริญเติบโตของพืช ปัจจุบันการเพาะเมล็ดพืชเพื่อนำมารับประทานนั้นมีความนิยมเป็นอย่างมาก โดยไม่จำเป็นต้องรอให้พืชโตสมบูรณ์ก็สามารถนำมารับประทานได้ ผักงอกเริ่มมีการนิยมบริโภคในประเทศไทยเมื่อไม่กี่ปีมานี้ยกเว้น ถั่วงอก แต่ในต่างประเทศมีการบริโภคผักงอกมานานแล้ว เนื่องจากกระแสเรื่องสุขภาพ ที่มีความเชื่อว่า ผักงอกปลอดสารพิษ และมีประโยชน์ ต่อร่างกาย ช่วยบำรุงสุขภาพ ในเรื่องปลอดภัย จากสารพิษจากสารคมีป้องกัน กำจัดศัตรูพืช เพราะพืชเพาะงอกจะมีอายุ ตั้งแต่เพาะจนถึงเก็บเกี่ยวไม่เกิน 15 วัน และไม่มีการใช้สารเคมีเนื่องจากในการผลิต ไม่ใช่การผลิตในแปลงใหญ่ๆ แบบพืชทั่วไป ดังนั้นการจัดทำฐานเรียนรู้การผลิตพืชเพาะงอก (ไมโครกรีน) จึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งของการพัฒนาศักยภาพและเป็นการส่งเสริมการพัฒนาอาชีพเพื่อการผลิตพืชปลอดภัยตามวิถีเศรษฐกิจพอพียง ให้แก่บุคคลที่ให้ความสนใจในยุคปัจจุบัน โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ในด้านการพัฒนาการเกษตรที่กระจายอยู่ทั่วประเทศ ได้ส่งผลโดยตรงต่อความกินดีอยู่ดีของเกษตรกรเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นโครงการที่มุ่งแก้ปัญหาหลักด้านการพัฒนาการเกษตร โดยเฉพาะอย่างยิ่งทำให้เกษตรกรได้มีโอกาสเช่นนี้มาก่อน รวมทั้งยังได้มีโอกาสเรียนรู้และเห็นตัวอย่างของความสำเร็จของการผลิตในพื้นที่ต่างๆ และสามารถนำไปปรับใช้ในการเพาะปลูกของตนเองอย่างได้ผล ความเจริญของภาคเศรษฐกิจแขนงอื่น และของประเทศชาติ โดยส่วนรวมด้วยการผลิตพืชตามแบบเศรษฐกิจพอเพียง การมุ่งใช้ประโยชน์จากธรรมชาติ ยังมีลักษณะสอดคล้องกับวิธีการที่สำคัญของพระองค์อีกประการหนึ่ง คือ การประหยัด ทรงเน้นความจำเป็นที่จะลดค่าใช้จ่ายในการทำมาหากินของเกษตรกรลงให้เหลือน้อยที่สุด โดยอาศัยพึ่งพิงธรรมชาติเป็นปัจจัยสำคัญ สอดคล้องกับการนำแนวพระราชดำริของพระเจ้าอยู่หัวฯ และพระบรมวงศานุวงศ์มาบริการวิชาการ คือเกษตรปลอดภัย ให้เกษตรกรมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น และมีความยั่งยืน และตามนโนบายของมหาวิทยาลัยที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศทางด้านการเกษตร ด้าน Green University และการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs)

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อจัดตั้งฐานเรียนรู้ทางการด้านการผลิตพืชไมโครกรีน ให้เป็นแหล่งเรียนรู้สำหรับผู้สนใจ
2. เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการผลิตต้นอ่อนเพื่อการบริโภคและการค้า
3. เพื่อยกระดับการผลิตพืชของเกษตรกรสู่ระบบการผลิตพืชปลอดภัยโดยเป็นอาชีพที่ใช้ต้นทุนในการผลิตต่ำและใช้พื้นที่น้อย
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ชุมชนสามารถนำความรู้/เทคโนโลยีจากงานบริการวิชาการไปพัฒนาโครงการเพื่อหาแหล่งทุน/ต่อยอดด้านการผลิตพืชเพาะงอก (ไมโครกรีน)
KPI 1 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
35 คน 35
KPI 3 : ร้อยละของรายได้ของเกษตรกรที่เพิ่มขึ้นในครัวเรือน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
5 ร้อยละ 5
KPI 4 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : จำนวนผู้เข้ามาเยี่ยมชมฐานเรียนรู้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
150 คน 150
KPI 6 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เกี่ยวกับการผลิตต้นอ่อนเพื่อการบริโภคและการค้าเพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 7 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 8 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.0308 0.0192 ล้านบาท 0.05
KPI 9 : จำนวนฐานเรียนรู้การผลิตพืชเพาะงอกไมโครกรีน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ฐานเรียนรู้ 1
KPI 10 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ชุมชนสามารถนำความรู้/เทคโนโลยีจากงานบริการวิชาการไปพัฒนาโครงการเพื่อหาแหล่งทุน/ต่อยอดด้านการผลิตพืชเพาะงอก (ไมโครกรีน)
ชื่อกิจกรรม :
1. ลงพื้นที่สำรวจความต้องการของเกษตรกรผู้สนใจ ในพื้นที่จังหวัดแพร่

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ละออทิพย์  นะโลกา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ศิริโสภา อินขะ  วรรณวงศ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน
ไม่มีค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
ชื่อกิจกรรม :
จัดเตรียมฐานเรียนรู้เพื่อการถ่ายทอดความรู้

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ละออทิพย์  นะโลกา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ศิริโสภา อินขะ  วรรณวงศ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกพิมพ์ เป็นต้น เป็นเงิน 4,000 บาท
2. ค่าวัสดุเกษตร เช่น ถาดเพาะต้นอ่อน เมล็ดพันธุ์ ขุยมะพร้าว แกลบดำ ดินปลูก สาย/ท่อPE ซาแลน เป็นต้น เป็นเงิน 20,000 บาท
3. ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เช่น ขวดโหล ทิชชู ตะกร้าพลาสติก ผ้าขาวบาง กะละมัง ผ้าขนหนู ถุงพลาสติก เป็นต้น เป็นเงิน 6,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 30,800.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 30,800.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 30800.00
ชื่อกิจกรรม :
การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง พืชเพาะงอก (ไมโครกรีน) อาหารปลอดภัย

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ละออทิพย์  นะโลกา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ศิริโสภา อินขะ  วรรณวงศ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 40 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 120 บาท เป็นเงิน 4,800 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 40 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 2,800 บาท
3. ค่าจ้างเหมาจัดทำป้ายไวนิล จำนวน 1 ป้าย ๆ ละ 2,800 บาท เป็นเงิน 2,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 10,400.00 บาท 0.00 บาท 10,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคบรรยาย (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 2 คน ๆ ละ 2 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท
2. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคปฏิบัติ (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 2 คน ๆ ละ 3 ชั่วโมงๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
3. ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 8 คนๆ ละ 1 วัน ๆ ละ 200 บาท เป็นเงิน 1,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 5,800.00 บาท 0.00 บาท 5,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ สมุด ดินสอ ปากกา ไม้บรรทัด เป็นต้น เป็นเงิน 3,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 19200.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
การถ่ายทอดองค์ความรู้เรื่องไมโครกรีนพืชจิ๋วแต่แจ๋ว เป็นการเพาะกล้าพืช และการใช้องค์ความรู้ในรายวิชาที่ทำการเรียนการสอนของรายวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืชผักเศรษฐกิจ (ทพ 320) การนำงานวิจัยในชั้นเรียนของ รายวิชาเทคโนโลยีหลักการเก็บเกี่ยว (ทพ 350) มานำเสนอแก่ผู้เข้าอบรม และรายวิชาปัญหาพิเศษ (ทพ 493) ในชั้นเรียนระดับปริญญาตรี (จำนวน 30 คน) เช่น เรื่องการตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์ และการผลิตต้นอ่อนทานตะวันในวัสดุปลูกที่ต่างกัน ของสาขาเทคโนโลยีการผลิตพืช โดยนักเรียนนักศึกษาสามารถจะดำเนินการผลิตพืชไมโครกรีน หร
ช่วงเวลา : 01/11/2566 - 30/09/2567
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล