21138 : โครงการ ส่งเสริมยุทธศาสตร์ด้านเกษตรอินทรีย์และความยั่งยืน
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
นางเพ็ญศิริ หน่อแก้ว (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 14/12/2566 13:50:35
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
22/12/2566  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  30  คน
รายละเอียด  กลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย บุคลากรวิทยาลัยพลังงานทดแทน นักศึกษา ผู้ประกอบการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ วิทยาลัยพลังงานทดแทน หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณเงินรายได้ แผนงานการเรียนการสอน งานสนับสนุนการจัดการศึกษา กองทุนเพื่อการศึกษา งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป (มิติที่ 1) งบประมาณ 60,000 บาท 2567 60,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
รองศาสตราจารย์ ดร. อัครินทร์  อินทนิเวศน์
รองศาสตราจารย์ เสมอขวัญ  ตันติกุล
น.ส. นงเยาว์  เต๋จ๊ะใหม่
นาย ชลัมพล  ธารารักษ์
นาย นักรบ  กลัดกลีบ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
วิทยาลัยพลังงานทดแทน
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 1.2 ความสำเร็จของการเป็นมหาวิทยาลัยแห่งชีวิต (GO. Eco U.)
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 1.2.1 ความสำเร็จของยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์ (Organic University)
กลยุทธ์ 67-70 MJU 1.2.1.1 กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่มหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์ที่ชัดเจน และขับเคลื่อนกิจกรรม รวมทั้งติดตามประเมินผลอย่างเป็นระบบ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ มิติที่ 1 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
เป้าประสงค์ 67-1.2 ความสำเร็จของการเป็นมหาวิทยาลัยแห่งชีวิต (มุ่งสู่การเป็นมหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์ (Organic University) มหาวิทยาลัยสีเขียว (Green University) และมหาวิทยาลัยเชิงนิเวศ (Eco. University)
ตัวชี้วัด 67-1.2.1 ความสำเร็จของยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์ (Org 67-1.2.1 ความสำเร็จของยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์ (Organic University)
กลยุทธ์ 67-ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์ (Organic University Strategy)
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ตามที่วิทยาลัยพลังงานทดแทนได้จัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ.ศ.๒๕๖๗ ในการกำหนดแนวทางการดำเนินงานตามภารกิจต่างๆ ของหน่วยงานให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และตอบสนองนโยบายของทางมหาวิทยาลัยแม่โจ้ในด้านการพัฒนาต่อยอดเทคโนโลยีที่เกิดจากงานวิจัยสู่การใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ และตอบสนองนโยบายขับเคลื่อนยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์ (Organic University Strategy) ในการนี้วิทยาลัยพลังงานทดแทนมีองค์ความรู้ที่จะสามารถนำไปใช้ประโยชน์ให้เกิดการพัฒนา Product Champion โดยเลี้ยงปลานิลในระบบไบโอฟลอคร่วมกับการใช้ไฟฟ้าและอากาศอัดพลังงานแสงอาทิตย์ ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่ได้จากการพัฒนางานวิจัยภายใต้โครงการ การเสริมสร้างชุมชนเขียวในการทำฟาร์มเลี้ยงปลาอัจฉริยะในจังหวัดเชียงใหม่เพื่อลดปริมาณการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล แหล่งทุนสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 256๓ ดังนั้นเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการใช้และถ่ายทอดเทคโนโลยีดังกล่าววิทยาลัยฯจึงจัดให้มีโครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าทางการเกษตรและพลังงานเพื่อสร้างรายได้ให้กับวิทยาลัยพลังงานทดแทน สำหรับหลักสูตรที่เปิดใหม่ (2564) คือหลักสูตรวิศวกรรมฟาร์มอัจฉริยะและนวัตกรรมเกษตร (ต่อเนื่อง) ซึ่งรับนักศึกษาระดับ ปวส. จากกรมอาชีวศึกษารกลุ่มช่างอุตสาหกรรม เกษตรกรรม และสาขาที่เกี่ยวข้อง โดยจะผลิตนักศึกษาให้มีความเชี่ยวชาญด้านฟาร์มอัจฉริยะ และด้านนวัตกรรมเกษตร ซึ่งหลักสูตรจะเน้นต่อยอดให้กับนักศึกษานำความรู้ไปพัฒนาการจัดการฟาร์มด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ และการพัฒนาการแปรรูปผลผลิตเกษตรมาเพิ่มมูลค่าเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ การเป็นผู้ประกอบการ และการทำธุรกิจออนไลน์ เป็นต้น ดังนั้นในสาขาวิชาดังกล่าวคณาจารย์ได้สร้างนวัตกรรมและผลงานวิจัยสำหรับการเพิ่มมูลค่าผลผลิตการเกษตรค่อนข้างมากและนำมาเป็นเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการเรียนการสอน และเพื่อให้นักศึกษาสามารถเห็นภาพที่เป็นระบบและครบวงจรจึงจะให้นักศึกษาเรียนรู้ ปฏิบัติการ ตลอดจนสามารถนำผลผลิตที่เกิดขึ้นจากการเรียนการสอนไปสู้การจำหน่ายภายใต้แบรนด์ ของวิทยาลัยพลังงานทดแทนและมหาวิทยาลัย โดยมีรายละเอียดคือ แปรรูปส้มเป็นน้ำส้มคั้นพร้อมดื่มเพิ่มมูลค่าโดยการผสมคอลลาเจนบรรจุแก้ว/ขวด การแปรรูปพลับตกเกรดมาอบแห้แบบหมาดบรรจุกล่อง การแปรรูปมะม่วงเป็นมะม่วงแช่อิ่มโดยใช้เทคโนโลยีถังความดัน บรรจุกล่อง และจำหน่ายให้กับบุคลากร นักศึกษา และประชาชนทั่วไป โดยเฉพาะกิจกรรมงานเกษตรแม่โจ้ครบรอบ 90 ปี ทั้งนี้เพื่อให้นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ปัญหา การแก้ปัญหาในภาคการเกษตรโดยนำเอาเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาใช้ การออกแบบบรรจุภัณฑ์และการจำหน่ายผลผลิต ซึ่งถือว่าเป็นประโยชน์กับนักศึกษาโดยตรง

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อหารายได้ด้วยเทคโนโลยีที่เกิดจากงานวิจัยเข้าสู่หน่วยงานตามนโยบายของมหาวิทยาลัย
เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาได้ฝึกวิชาชีพโดยการใช้พลังงานทดแทนในการลดต้นทุนการผลิต
เพื่อนำองค์ความรู้ที่ได้จากชั้นเรียนมาสู่การขยายผลในเชิงธุรกิจขนาดเล็ก และนำเครื่องมือที่ใช้ในการเรียนการสอนมาใช้งานจริงสำรับการ สร้างรายได้ในระหว่างเรียน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผลผลิตปลาที่มีคุณภาพ
KPI 1 : จำนวนผลผลิต
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 กิโลกรัม 100
KPI 2 : จำนวนนักศึกษาเข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3 คน 3
ผลผลิต : ผลิตภัณฑ์แปรรูปเกษตร
KPI 1 : จำนวนหลักสูตร
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 หลักสูตร 1
KPI 2 : จำนวนผลผลิต
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1000 ชิ้น 1000
KPI 3 : จำนวนนักศึกษาเข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 คน 30
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผลผลิตปลาที่มีคุณภาพ
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1: พัฒนาผลิตภัณฑ์ (MJU Product Champion)
- การเลี้ยงปลานิลในระบบไบโอฟลอคร่วมกับการใช้ไฟฟ้าและอากาศอัดพลังงานแสงอาทิตย์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 22/12/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.อัครินทร์  อินทนิเวศน์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร
- ค่าอาหารปลา ค่าอาหาร ราคา ถุง ละ 600 บาท จำนวน 40 ถุง
- ค่าพันธุ์ปลา ปลานิล จำนวน 3,000 ตัว ๆ ละ 1 บาท
- หัวเชื้อไบโอฟลอค หัวเชื้อไบโอฟลอค จำนวน 1 ชุดๆละ 3,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 30,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 30000.00
ผลผลิต : ผลิตภัณฑ์แปรรูปเกษตร
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 2 :การพัฒนาหลักสูตร งานวิจัยและบริการวิชาการด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านเกษตรอินทรีย์
- การนำเครื่องจักร/เครื่องมือที่ได้จากงานวิจัยและหรือใช้ในการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรมาแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร มีรายการดังนี้
- การแปรรูปส้มเป็นน้ำส้มคั้นผสมคอลลาเจนบรรจุขวด/กระป๋องพร้อมดื่ม (จำนวน 400 กระป๋อง)




- การแปรรูปพลับตกเกรดเป็นพลับอบแห้งแบบหมาดบรรจุกล่องพร้อมทาน (จำนวน 300 กล่อง)



- การแปรรูปมะม่วงเป็นมะม่วงแช่อิ่มโดยใช้เทคโนโลยีถังความบรรจุกล่องพร้อมทาน (จำนวน 300 ถุง)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 14/12/2566 - 14/12/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์เสมอขวัญ  ตันติกุล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำสติ๊กเกอร์ จำนวน 2100 บาท
จำนวน 400 ชิ้น ๆ ละ 1.5 บาท
ชิ้นละ 3 บาท จำนวน 300 ชิ้น
ชิ้นละ 2 บาท จำนวน 300 ชิ้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 2,100.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,100.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร (ส้ม) ส้มสายน้ำผึ้งเบอร์ 0 จำนวน 200 กิโลกรัม ๆ ละ 20 บาท
ค่าวัสดุเกษตร (ลูกพลับ) ลูกพลับกิโลกรัมๆ ละ 25 บาท จำนวน 300 กิโลกรัม
ค่าวัสดุเกษตร (มะม่วง) มะม่วงกิโลกรัมละ 15 บาท จำนวน 500 กิโลกรัม
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 19,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 19,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
- ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว (กระป๋อง) กระป๋อง 300 ml พร้อมฝา ๆ ละ 9.5 บาท จำนวน 400 กระป๋อง
- ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว (คอลลาเจน) คอลลาเจน 350 กิโลกรัม ๆ ละ 3 บาท
- ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว (เกลือ น้ำตาล แก้วพลาสติก)
-ค่ากล่องบรรจุภัณฑ์กล่องละ 5.33 บาท จำนวน 300 กล่อง
-น้ำตาลกิโลกรัมละ 35 บาท จำนวน 10 กิโลกรัม
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 7,350.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,350.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์ฯ (สารซิติก, CaCl2, ถุงฟอย)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 1,550.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,550.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 30000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล