21123 : โครงการรวบรวมองค์ความรู้เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านเกษตรธรรมชาติและเกษตรอินทรีย์
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
ศาสตราจารย์ ดร.อานัฐ ตันโช (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการในลักษณะโครงการ (Project base) เพื่อบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
13/12/2566  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  1500  คน
รายละเอียด  กลุ่มนักเรียน นักศึกษา นักวิจัย นักวิชาการ 2) กลุ่มเกษตรกร 3) หน่วยงานราชการ หน่วยงานภาคธุรกิจ 4) ผู้สนใจทั่วไป
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานรอง : แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ผลผลิต : ผลงานการให้บริการวิชาการ กิจกรรมหลักเผยแพร่ความรู้งานบริการวิชาการและประชาสัมพันธ์ แผนงานบริการวิชาการแก่สังคม งานบริการวิชาการแก่ชุมชน กองทุนบริการวิชาการ งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป เงินสะสมเพื่อขับเคลื่อนโครงการยุทธศาสตร์ในเชิงบูรณาการ โครงการรวบรวมองค์ความรู้เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านเกษตรธรรมชาติและเกษตรอินทรีย์ 2567 1,159,236.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ศาสตราจารย์ ดร. อานัฐ  ตันโช
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.3.2 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.3.2.1 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67 AP 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67 AP 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคมชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67 AP 2.3.2 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 67 AP 2.3.2.1 ขับเคลื่อนการสำรวจผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนเป้าหมายจากการให้บริการวิชาการและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ขยะอินทรีย์ ประกอบด้วยทั้งของแห้งเช่น ใบไม้ หญ้า กิ่งไม้ และขยะสดจากกระบวนการประกอบอาหารและแปรรูปผลผลิตเกษตรจากโรงงานต่างๆ ในส่วนของขยะอินทรีย์แห้งมักนำไปใช้ในการผลิตปุ๋ยหมักและไม่เป็นปัญหาก่อมลพิษต่อสิ่งแวดล้อมหรือชุมชนเว้นแต่จะมีการเผาทำลายก่อมลพิษทางอากาศ แต่ในส่วนของขยะอินทรีย์ที่เป็นขยะสด ที่เก็บได้จากตลาดสด หรือเศษอาหารเหลือจากครัวเรือน รวมถึงเศษผักสด ผลไม้กระป๋องจากการแปรรูปผลผลิตในโรงงานต่างๆ มักเป็นปัญหาในทุกพื้นที่ที่มีสังคมเมืองตั้งอยู่ และเป็นปัญหาของการเก็บกำจัดของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แต่ขยะสดนั้นเป็นส่วนที่มีคุณค่าสารอาหารสูงเหมาะสำหรับนำเลี้ยงสัตว์ และผลิตเป็นปุ๋ยอินทรีย์ชนิดต่างๆ เช่น การใช้ไส้เดือนดินกำจัดขยะอินทรีย์ชุมชน กำจัดขยะสดเป็นโครงการที่ผ่านการวิจัยแล้วและสร้างโรงเรือนเลี้ยงในระดับพาณิชย์เป็นผลสำเร็จ ซึ่งฐานเรียนรู้การผลิตปุ๋ยอินทรีย์จากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรและขยะอินทรีย์ชุมชนในระดับอุตสาหกรรม จะเป็นต้นแบบการจัดการขยะและวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรในพื้นที่เทศบาลเมือง องค์การบริหารส่วนตำบล และเกษตรกรที่ทำเกษตรอินทรีย์รายใหญ่ นอกจากนี้จะเป็นสถานที่ศึกษาดูงานของชุมชนเกษตรอินทรีย์ หรือผู้ประกอบการอื่นๆ ทั่วประเทศ เพื่อเผยแพร่เทคโนโลยีไปใช้บริหารจัดการขยะอินทรีย์ต่อไป เปลี่ยนเป็นปุ๋ยอินทรีย์เพื่อเป็นปัจจัยในการผลิตด้านธาตุอาหารพืชต่อไป ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยศูนย์วิจัยและพัฒนาเกษตรธรรมชาติร่วมกับคณะผลิตกรรมการเกษตรและสมาคมศิษย์เก่าแม่โจ้ ได้มีนโยบายเผยแพร่องค์ความรู้และเทคนิคการบริหารจัดการระบบการปลูกพืชกัญชาระบบอินทรีย์นำไปสู่การผลิตช่อดอกกัญชาแห้งเพื่อใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ มีความสามารถผลิตเพื่อจำหน่ายแก่หน่วยงานที่ต้องการนำผลผลิตจากพืชกัญชาไปใช้ประโยชน์ได้ภายใต้ข้อบังคับตามกฎหมายและถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านเกษตรธรรมชาติ เกษตรอินทรีย์ จัดการขยะอินทรีย์ร่วมกัน

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อเป็นแหล่งบริการวิชาการ โดยศูนย์วิจัยและพัฒนาเกษตรธรรมชาติร่วมกับคณะผลิตกรรมการเกษตรและสมาคมศิษย์เก่าแม่โจ้ ในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตปุ๋ยอินทรีย์จากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรและขยะอินทรีย์ชุมชนในระดับอุตสาหกรรม และถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตกัญชาทางการแพทย์ในระดับอุตสาหกรรม ให้กับนักศึกษา เกษตรกร หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน และผู้ที่สนใจทั่วไป
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : รวบรวมองค์ความรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านเกษตรธรรมชาติและเกษตรอินทรีย์
KPI 1 : จำนวนผู้เข้าเยี่ยมชมฐานเรียนรู้ และรับบริการวิชาการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
400 300 300 500 คน 1500
KPI 2 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 3 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1.159 ล้านบาท 1.159
KPI 5 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 6 : จำนวนผู้เข้ารับการอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
200 300 200 คน 700
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : รวบรวมองค์ความรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านเกษตรธรรมชาติและเกษตรอินทรีย์
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 โครงการอบรมร่วมกับคณะผลิตกรรมการเกษตร (แม่โจ้ 90 ปี) สมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยแม่โจ้และศูนย์วิจัยและพัฒนาเกษตรธรรมชาติ
- ฐานเรียนรู้ไส้เดือนดิน
- ฐานเรียนรู้การผลิตกัญชาทางการแพทย์
- ฐานเรียนรู้การผลิตปุ๋ยอินทรีย์มาตรฐาน IFOAM
- ฐานเรียนรู้การผลิตพืชอินทรีย์ในระบบไฮโดรโพนิคส์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 13/12/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ศาสตราจารย์ ดร.อานัฐ  ตันโช (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าจ้างเหมาช่วยปฏิบัติงานบริหารคณะผลิตกรรมการเกษตร (1คน*6เดือน*15,000บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 45,000.00 บาท 45,000.00 บาท 90,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (7 ครั้ง ๆ ละ 100 คน ๆ ละ 120 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 48,000.00 บาท 36,000.00 บาท 84,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (7 ครั้ง ๆ ละ 2 มื้อ 100 คน ๆ ละ 35 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 28,000.00 บาท 21,000.00 บาท 49,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาทำเอกสารประกอบการอบรม (7 ครั้ง ๆ ละ 100 คน ๆ ละ 70 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 28,000.00 บาท 21,000.00 บาท 49,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานนอกวันและเวลา (7 ครั้ง ๆ ละ 5 คน ๆ ละ 200 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท 3,000.00 บาท 7,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกพิมพ์ ฯลฯ เป็นเงิน 65,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 65,500.00 บาท 0.00 บาท 65,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ, แฟ้ม ฯลฯ เป็นเงิน 93,716 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 93,716.00 บาท 0.00 บาท 93,716.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร เช่น ถุงมือยาง, มูลวัว, ดินดำ, สแลนสีดำ, ถุงมือยาง, ฯลฯ เป็นเงิน 185,020 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 185,020.00 บาท 0.00 บาท 185,020.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์ เช่น ถุงมือ, ผ้าปิดจมูก ฯลฯ เป็นเงิน 46,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 46,000.00 บาท 0.00 บาท 46,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 669236.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 2 จ้างเหมาสร้างสื่อประกอบการบริการวิชาการ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 13/12/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ศาสตราจารย์ ดร.อานัฐ  ตันโช (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำคู่มือประกอบการบริการวิชาการประกอบด้วยเรื่อง
1. เกษตรธรรมชาติ (700 เล่ม*480 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 336,000.00 บาท 0.00 บาท 336,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำคู่มือประกอบการบริการวิชาการประกอบด้วยเรื่อง
2. ผลิตกัญชาอินทรีย์ทางการแพทย์ (700 เล่ม*220 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 154,000.00 บาท 0.00 บาท 154,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 490000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล