21118 : โครงการไหว้ครูนาฏศิลป์ ประจำปี 2567
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
น.ส.เมริษา ยอดหอม (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการพัฒนากิจกรรมนักศึกษา (เบิกจ่ายจากงบพัฒนากิจกรรมนักศึกษา)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
08/01/2567  ถึง  31/01/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  100  คน
รายละเอียด  ผู้บริหาร บุคลากร นักศึกษา
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ กองส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบพัฒนานักศึกษา ประจำปี 2567 2567 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย วุฒิภัทร  เกตุพัฒนพล
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
นาง กัณณิกา  ข้ามสี่
รองศาสตราจารย์ จักรพงษ์  พิมพ์พิมล
รองศาสตราจารย์ ดร. นิโรจน์  สินณรงค์
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
กองส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.4 เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมเกษตรและสิ่งแวดล้อม และสร้างสรรค์นวัตกรรมด้านทุนทางวัฒนธรรม
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.4.2 จำนวนโครงการ/กิจกรรมด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมที่สอดคล้องหรือตอบโจทย์ยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.4.2.1 พัฒนาแผนและกิจกรรมทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัยและการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 1. เพิ่มทักษะการเรียนรู้อย่างยั่งยืน
เป้าประสงค์ 67-1.3 อนุรักษ์ สืบสาน ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และสร้างค่านิยมความเป็นไทย ให้กับบัณฑิตด้านศิลปวัฒนธรรม และวัฒนธรรมการเกษตร
ตัวชี้วัด 67-1.2 จำนวนโครงการ/กิจกรรมด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมที่สอดคล้องหรือตอบโจทย์ยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 67-1.1 ทำนุบำรุงและส่งเสริม ศาสนา ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และวัฒนธรรมการเกษตร
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

พิธีไหว้ครูดนตรีไทยและนาฏศิลป์ ไหว้ครูครอบครูดนตรีไทย เป็นพิธีการที่ควรยกย่องและอนุรักษ์ไว้ ถือเป็นประเพณีที่สืบทอดกัน มาแต่โบราณซึ่งนักดนตรีไทย และนาฏศิลป์ไทยเชื่อว่า เครื่องดนตรีไทยทุกประเภท การแสดงนาฏศิลป์ทุกประเภท มีครูประจำอยู่ เพื่อช่วยประสิทธ์ิประสาทวิชาด้วยกันทั้งสิ้น การแสดงเคารพบูชาอยู่เสมอ จะนำมาซึ่งความเจริญรุ่งเรืองให้แก่ตนเองในภายภาคหน้า เกิดศิริมงคลและเป็นการอำนวยอวยพรให้แก่ลูกศิษย์ที่ใช้วิชาชีพดนตรีนาฏศิลป์เลี้ยงตนเองและครอบครัว ประกอบกับเป็นการสืบทอดวัฒนธรรมประเพณีที่สืบทอดกันมาแต่บรรพบุรุษ ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมได้จัดพิธีไหว้ครูดนตรีไทยและนาฏศิลป์เป็นประจำขึ้นทุกปี เพื่อเป็นการถ่ายทอดประเพณีอันดีงามให้คงอยู่สืบไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
ได้ยกย่อง อนุรักษ์ และรักษา ประเพณีอันเป็นวัฒนธรรมอันดีของไทยไว้ให้ยืนยงต่อไป
เพื่อเปิดโอกาสให้นักศึกษา ประชาชนที่สนใจที่จะเรียนรู้ฝึกหัดดนตรีไทยและนาฏศิลป์ได้เข้าร่วมพิธีไหวค้รูตามขนบธรรมเนียมประเพณีที่ได้ปฏิบติกันมา
เพื่อสร้างความเป็นน้ำหน่ึงใจเดียวกันระหว่างนักศึกษา ที่มีความสามารถหรือสนใจด้านดนตรีไทยนาฏศิลป์
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : โครงการไหว้ครูนาฏศิลป์ ประจำปี 2567
KPI 1 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 คน 100
KPI 2 : ระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมต่อการแสดงออกในทางสร้างสรรค์และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3 ระดับ 3
KPI 3 : จำนวนองค์ความรู้ด้านศิลปและวัฒนธรรมที่ได้เผยแพร่
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 องค์ความรู้ 2
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : โครงการไหว้ครูนาฏศิลป์ ประจำปี 2567
ชื่อกิจกรรม :
ไหว้ครูนาฏศิลป์ ประจำปี 2567

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 08/01/2567 - 31/01/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายวุฒิภัทร  เกตุพัฒนพล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.วีนาภัทร์  พงษ์ภา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.เมริษา  ยอดหอม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาบริการจัดอุปกรณ์ประกอบศาสนพิธี,เครื่องพลีกรรมแบบล้านนา
1. ค่าจ้างเหมาทำหมากสุ่ม หมากเบ็ง ในวงเงิน 3,000 บาท
2. ค่าจ้างเหมาทำบายศรีขันตั้งประกอบพิธี ในวงเงิน 4,000 บาท
3. ค่าจ้างเหมาจัดทำสังฆทานแบบล้านนา จำนวน 5 ชุด ในวงเงิน 2,500 บาท
4. ค่าจ้างเหมาทำเครื่องเซ่น เครื่องไหว้ (หัวหมูครบเครื่อง หัวหางขา,เหล้าขาว เหล้าแดง ,อาหารคาวต่างๆ ไข่ต้ม เป็ด ไก่ ,อาหารหวานต่างๆ ขนมต้ม ขนมไทย ,ผลไม้ต่างๆ ,น้ำแดง,อ้อยควั่น,หมากพลู,ข้าวตอก,ถั่วดิบ,งาดิบ ฯลฯ) ในวงเงิน 25,000 บาท
5. ค่าจ้างเหมาจัดทำ กรวยใบตองพร้อมดอกไม้ธูปเทียน ,ขันดอกเก็ดถวา ,ขันใบพลู ,มาลัยดอกดาวเรือง ,พวงมาลัยดอกมะลิเล็ก ฯลฯ ในวงเงิน 2,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 37,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 37,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ปัจจัยไทยธรรมพระสงฆ์ จำนวน 5 รูป ๆละ 1,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 100 คนๆละ 30 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
ค่าอาหาร ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 100 คนละ 50 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 8,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 50000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล