21102 : โครงการอนุรักษ์ศิลปทางวัฒนธรรม
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
นายณัฐวุฒิ เครือฟู (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 29/3/2567 13:12:02
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
16/01/2567  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  30  คน
รายละเอียด  บุคลากรภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน ค่าวัสดุในการดำเนินกิจกรรมโครงการ 2567 40,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย ณัฐวุฒิ  เครือฟู
นาย สวาท  ใจสักเสริญ
นาย ประสิทธิ์  ใจคำ
นาย ยุทธนา  ชำนาญ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ณัฐพล  เลาห์รอดพันธุ์
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านบุคลากร
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.4 เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมเกษตรและสิ่งแวดล้อม และสร้างสรรค์นวัตกรรมด้านทุนทางวัฒนธรรม
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.4.2 จำนวนโครงการ/กิจกรรมด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมที่สอดคล้องหรือตอบโจทย์ยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.4.2.1 พัฒนาแผนและกิจกรรมทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัยและการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.4.2.2 พัฒนารูปแบบในการจัดกิจกรรม/โครงการด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และวัฒนธรรมการเกษตร ให้น่าสนใจและทันสมัย
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ วส67-ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ วส67-1.6 ผลงานด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมอนุรักษ์ทรัีพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัด วส67-15. ร้อยละความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
กลยุทธ์ วส67-1.6.1 สนับสนุนการจัดโครงการอนุรักษ์และดำรงศิลปวัฒนธรรมเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตและงานประจำ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

การเรียนรู้ศิลปประดิษฐ์เป็นภูมิปัญญา โดยถ่ายทอดรูปแบบกระบวณการให้ผู้สืบทอดเพื่อให้คงรักษาภูมิปัญญาด้านการประดิษฐ์คิดสร้างสรรค์ผลงานจากผู้มีความรู้และผู้รู้ภายในชุมชน สังคม ต่างๆ มาถ่ายทอดให้บุคลากรมหาวิทยาลัยแม่โจ้ และผู้สนใจ สามารถนำกระบวนการเรียนรู้ ถ่ายทอดประมวลผล ตลอดจนสนับสนุนให้บุคลากรได้เชื่อมโยงเครือข่ายในการพัฒนาตนเอง และสังคม โดยผู้ที่มีความรู้ได้ถ่ายทอดและสืบสานภูมิปัญญา ต่อสู้กับกระแสของการรุกของวัฒนธรรมยุคใหม่ โดยการรวมกลุ่มบุคลากร และผู้สนใจให้ตระหนักถึงความสำคัญความเป็นมาของวัฒนธรรม แบ่งปัน เกื้อกูลช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มีการศึกษาเรียนรู้วิถีการดำรงชีวิต ชุมชนภูมิปัญญาพื้นบ้าน ที่มีมาช้านาน บนพื้นฐานของธรรมชาติที่เกี่ยวพันสอดคล้องกันกับวิถีชีวิตชุมชน สังคม จึงได้จัดทำโครงการอนุรักษ์ ศิลปประดิษฐ์ทางวัฒนธรรม เพื่อสืบสานวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยมีบุคลากรมหาวิทยาลัยแม่โจ้ และผู้สนใจเข้าร่วมโครงการ ได้สืบสานวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น ด้านศิลปะประดิษฐ์ ตุง โคม เครื่องสักการะล้านนา หมากสุ่ม หมากเป็ง บายศรี สวยดอกไม้ การจัดดอกไม้ในพิธีต่างๆ การเรียนรู้การปรุงอาหารพื้นถิ่น พื้นที่ในแต่ละภาค เป็นต้น

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ในคุณค่าของศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น
2. เพื่อสามารถนำความรู้ที่ได้รับจากการอบรมไปใช้ในการทำงานและทำนุบำรุงไว้ซึ่ง ศิลปวัฒนธรรมอันดีงาม
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : โครงการอนุรักษ์ศิลปทางวัฒนธรรม
KPI 1 : จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 คน 30
KPI 2 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ผู้เข้ารับการอบรมสามารถประดิษฐ์ชิ้นงานได้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ชิ้นงาน 1
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : โครงการอนุรักษ์ศิลปทางวัฒนธรรม
ชื่อกิจกรรม :
1.กำหนดแผนและประชาสัมพันธ์โครงการฝึกอบรม (นายณัฐวุฒิ เครือฟู)
2.จัดเตรียมจัดเตรียมวัสดุและอุปกรณ์ (นายณัฐวุฒิ เครือฟู / นายยุทธนา ชำนาญ)
3.จัดเตรียมสถานที่ในการฝึกอบรม (นายประสิทธิ ใจคำ)
4.จัดดำเนินกิจกรรมโครงการ (นายณัฐวุฒิ เครือฟู / นายสวาท ใจสักเสริญ)
5.จัดเก็บแบบประเมินโครงการ (นายประสิทธิ ใจคำ/นายยุทธนา ชำนาญ)
6.จัดทำสรุปรายงานการดำเนินโครงการฝึกอบรม (นายณัฐวุฒิ เครือฟู)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/02/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายยุทธนา  ชำนาญ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายสวาท  ใจสักเสริญ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายประสิทธิ์  ใจคำ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 30 คน คนละ 35 บาท 2 มื้อ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,100.00 บาท 0.00 บาท 2,100.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวันจำนวน 30 คน คนละ 120 บาท 1 มื้อ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว ดอกไม้กระดาษสา ดอกไม้ผ้า โครงพวงหรีด กระดาษสา ลวด ไม้เสียบลูกชิ้น เทปใส
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 34,300.00 บาท 0.00 บาท 34,300.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 40000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล