21097 : โครงการประสานงานศูนย์ความเป็นเลิศด้านรับใช้สังคม
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
น.ส.ชณันภัสร์ กีรติอำนวยศรี (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
24/06/2567  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  20  คน
รายละเอียด  อาจารย์ นักวิจัย และนักวิชาการของมหาวิทยาลัยที่รวมตัวกันในการจัดตั้งศูนย์ความเป็นเลิศของมหาวิทยาลัย
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน กองทุนบริการวิชาการมหาวิทยาลัยแม่โจ้ 2567 100,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
น.ส. ชณันภัสร์  กีรติอำนวยศรี
นาง รัตนา  ศรีวิชัย
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.3.1.2 ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ วส67-ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ วส67-1.5 มีระบบการบริหารจัดการโครงการบริการวิชาการที่ดีมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด วส67-13. ร้อยละความพึงพอใจของหัวหน้าโครงการที่มีต่อระบบการบริหารจัดการโครงการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ วส67-1.5.2 พัฒนาศูนย์บริการข้อมูลด้านบริการวิชาการและวิจัย
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้มีนโยบายในการสนับสนุนให้คณาจารย์ และหรือนักวิจัย ของมหาวิทยาลัยที่สังกัดคณะ/สำนักต่าง ๆ ได้รวมกลุ่มกันทำงานบริการวิชาการในลักษณะบูรณาการข้ามศาสตร์ ในกลุ่มเรื่อง/ประเด็นที่สนใจร่วมกัน โดยเฉพาะกลุ่มเรื่อง/ประเด็นที่มีศักยภาพส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคม โดยเน้นด้านเกษตรและอาหาร และได้สนับสนุนงบประมาณจากกองทุนบริการวิชาการมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ในการจัดตั้งศูนย์ความเป็นเลิศด้านรับใช้สังคม ให้แก่ คณาจารย์ และหรือนักวิจัยของมหาวิทยาลัยในการดำเนินงานด้านบริการวิชาการ โดยศูนย์ความเป็นเลิศด้านรับใช้สังคม จะเป็นการรวมตัวกันของคณาจารย์และหรือนักวิจัยที่มีงานวิจัยที่ตอบสนองความต้องการของพื้นที่และมีผลกระทบทางเศรษฐกิจสังคมสูง เช่น องค์ความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรมที่พร้อมถ่ายทอดสู่ชุมชนที่สร้างผลกระทบต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชน มีการยอมรับจากหน่วยงานและองค์กรในการเข้าศึกษาดูงาน มีเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐ และหรือผู้ประกอบการในประเทศและหรือต่างประเทศ มีการให้บริการวิชาการหน่วยงาน องค์กรต่าง ๆ เป็นเจ้าภาพจัดการประชุมระดับชาติ หรือนานาชาติ การผลิตสื่อที่ใช้ในการอบรมหรือถ่ายทอดเทคโนโลยี เป็นต้น ดังนั้น กองบริหารงานบริการวิชาการ สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร จึงได้จัดทำโครงการศูนย์ความเป็นเลิศด้านรับใช้สังคมขึ้น เพื่อเป็นการขับเคลื่อนการดำเนินงานของคณาจารย์ และหรือนักวิจัย ในการจัดตั้งศูนย์ความเป็นเลิศด้านรับใช้สังคมเพื่อสนองต่อนโยบายของมหาวิทยาลัยและเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชนอย่างยั่งยืน ต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
ขับเคลื่อนการดำเนินงานศูนย์ความเป็นเลิศด้านรับใช้สังคมของมหาวิทยาลัยแม่โจ้
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ศูนย์ความเป็นเลิศด้านรับใช้สังคม
KPI 1 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.1 ล้านบาท 0.1
KPI 2 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 4 : จำนวนศูนย์ความเป็นเลิศด้านรับใช้สังคม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 ศูนย์ 2
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ศูนย์ความเป็นเลิศด้านรับใช้สังคม
ชื่อกิจกรรม :
1. สนับสนุนงบประมาณในการจัดตั้งศูนย์ความเป็นเลิศ (จากเงินกองทุนบริการวิชาการมหาวิทยาลัยแม่โจ้)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 23/01/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
น.ส.ชณันภัสร์  กีรติอำนวยศรี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางรัตนา  ศรีวิชัย (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
สนับสนุนงบประมาณในการจัดตั้งศูนย์ความเป็นเลิศ จำนวน 2 ศูนย์ฯ ๆ ละ 50,000 บาท
(หมายเหตุ: รายละเอียดจะอยู่ใน proposal ของโครงการ)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 100,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 100,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 100000.00
ชื่อกิจกรรม :
2. ประสานงานและติดตามผลการดำเนินงานของศูนย์ความเป็นเลิศด้านรับใช้สังคม

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 23/01/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
น.ส.ชณันภัสร์  กีรติอำนวยศรี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางรัตนา  ศรีวิชัย (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่มีงบประมาณ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล