21088 : โครงการศูนย์เรียนรู้วัฒนธรรมเกษตรล้านนา
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
ว่าที่ ร.ต.สมบูรณ์ ระดม (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
03/10/2566  ถึง  28/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  800  คน
รายละเอียด  นักเรียน บุคลากร เกษตรกร ประชาชนทั่วไป และนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 2567 500,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ว่าที่ ร.ต. สมบูรณ์  ระดม
นาย อดิศักดิ์  การพึ่งตน
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.3.2 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.3.2.1 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ วส67-ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ วส67-1.4 เป็นหน่วยงานที่สนองงานโครงการตามพระราชดำริ
ตัวชี้วัด วส67-12. จำนวนแหล่งเรียนรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการเกษตรที่สนองงานตามพระราชดำริ
กลยุทธ์ วส67-1.4.1 สนับสนุนโครงการบริการวิชาการเพื่อสนองงานโครงการตามพระราชดำริ และพัฒนาต่อยอดเป็นแหล่งเรียนรู้เพื่อการศึกษาดูงานและสร้างรายได้
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

พื้นที่ศูนย์เรียนรู้วัฒนธรรมเกษตรล้านนา มีพื้นที่โดยประมาณ 35 ไร่ เป็นพื้นที่เตรียมการสาธิตด้านเกษตรล้านนา การจำลองวิถีชีวิตเกษตรกรในอดีต ภูมิปัญญาเกษตรพื้นบ้านท้องถิ่น เพื่อใช้สำหรับประกอบกิจกรรมของศูนย์เรียนรู้ ให้แก่ นักศึกษา นักเรียน เกษตรกร หรือผู้ที่สนใจเพื่อเข้าเยี่ยมชมและศึกษาวิถีชีวิตของคนล้านนา และเป็นแหล่งเรียนรู้การน้อมนำแนวทางพระราชดำริของพระเจ้าอยู่หัวฯ ที่มีการถ่ายทอดองค์ความรู้ เช่น การอนุรักษ์ดินและน้ำ การปลูกข้าว การใช้สัตว์ไถนา วิถีชีวิตเกษตรอินทรีย์ การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และมีการจัดนิทรรศการแสดงพิพิธภัณฑ์การเกษตรท้องถิ่น สามารถเป็นองค์กรที่ทำหน้าที่เป็นคลังความรู้ของนักศึกษา ชุมชน สร้างจิตสำนึกร่วมกันให้เกิดความภาคภูมิใจในท้องถิ่นของตน และเป็นเวทีให้คนในท้องถิ่นถ่ายทอดประวัติศาสตร์ วิถีชีวิต ความต้องการให้แก่คนรุ่นใหม่ได้ศึกษา รวมถึงสนับสนุน ให้เป็นพิพิธภัณฑ์ที่มีชีวิตสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากประสบการณ์จริง เกิดเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ในชุมชนที่สามารถเลี้ยงตนเองได้ในวิถีเกษตรล้านนาอย่างแท้จริง สามารถให้ผลผลิตทั้งปริมาณและคุณภาพ เป็นระบบการเกษตรที่มีความยั่งยืน ถาวร เป็นอาชีพที่มีความมั่นคง ความสำคัญของเกษตรธรรมชาติ คือ ช่วยรักษาสภาพแวดล้อม เนื่องจากไม่มีการใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมีทางการเกษตรทุกชนิด จึงไม่มีสารพิษตกค้างในสภาพแวดล้อม ช่วยปรับปรุงและพัฒนาดินให้มีความอุดมสมบูรณ์เหมาะสมต่อการเพาะปลูก จึงช่วยคุ้มครองพื้นที่ในการทำการเกษตร ช่วยรักษาความสมดุลของระบบนิเวศและความสมดุลของสภาพแวดล้อมอื่นๆ ทำให้ได้ผลผลิตทางการเกษตรที่บริสุทธิ์ ทั้งปริมาณและมีคุณภาพดี เกษตรกรสามารถพึ่งตนเองได้ โดยมีการใช้ทรัพยากรภายในแปลงเกษตรมาหมุนเวียนใช้ให้เกิดประโยชน์มากที่สุด ลดการใช้ปัจจัยภายนอกจึงเป็นการลดต้นทุนการผลิต

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการทำการเกษตรแบบธรรมชาติ ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
2. เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง “การทำการเกษตรแบบธรรมชาติ ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง”
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ศูนย์เรียนรู้วัฒนธรรมเกษตรล้านนา
KPI 1 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 100 100 0 คน 300
KPI 2 : ร้อยละของการดำเนินโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 90 ร้อยละ 90
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 90 ร้อยละ 90
KPI 4 : ค่าใช้จ่ายของการบริการวิชาการที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
111000 167000 111000 111000 บาท 500000
KPI 5 : จำนวนนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
200 150 150 0 คน 500
KPI 6 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ / หน่วยงาน / องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 80 80 80 ร้อยละ 80
KPI 7 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 80 80 80 ร้อยละ 80
KPI 8 : จำนวนแหล่งเรียนรู้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 1 แหล่ง 1
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ศูนย์เรียนรู้วัฒนธรรมเกษตรล้านนา
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 การพัฒนาแหล่งเรียนรู้
- การจำลองตัวอย่างบ้านล้านนา และวิถีการดำรงชีวิตของคนล้านนา
- การเลี้ยงสัตว์ในระบบอินทรีย์
กิจกรรมย่อยที่ 2 ถ่ายทอดองค์ความรู้ เกี่ยวกับการทำการเกษตรแบบธรรมชาติ ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 03/10/2566 - 28/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ว่าที่ ร.ต.สมบูรณ์  ระดม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าจ้างเหมาคนงานเกษตร จำนวน 3 คนๆ ละ 8,000 บาท 12 เดือน เป็นเงิน 288,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
72,000.00 บาท 72,000.00 บาท 72,000.00 บาท 72,000.00 บาท 288,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
น้ำมันเชื้อเพลิงและหล่อลื่น
แก๊สโซฮอล์ 95 ใช้สำหรับใส่เครื่องตัดหญ้า และน้ำมันดีเซล ใช้สำหรับใส่รถไถนา
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร
1. รำกลาง จำนวน 50 กระสอบๆ ละ 180 บาท เป็นเงิน 9,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 9,000.00 บาท 0.00 บาท 9,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร
2. อาหารหมูแรกเกิด จำนวน 30 กระสอบๆ ละ 580 บาท เป็นเงิน 17,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 17,400.00 บาท 0.00 บาท 17,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร
3. อาหารหมูเล็ก จำนวน 37 กระสอบๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 22,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 22,200.00 บาท 0.00 บาท 22,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร
4. อาหารไก่ไข่ จำนวน 100 กระสอบๆ ละ 580 บาท เป็นเงิน 58,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 58,000.00 บาท 0.00 บาท 58,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร
5. อาหารปลาใหญ่ จำนวน 20 กระสอบๆ ละ 400 บาท เป็นเงิน 8,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 8,000.00 บาท 0.00 บาท 8,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร
6. น้ำตาลทรายแดง(สำหรับผสมอาหารสัตว์) จำนวน 100 กิโลกรัม ๆ ละ 45 บาท เป็นเงิน 4,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 4,500.00 บาท 0.00 บาท 4,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร
7. ข้าวโพดป่น จำนวน 150 กระสอบๆ ละ 360 บาท เป็นเงิน 54,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 54,000.00 บาท 0.00 บาท 54,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร
8. ปลาป่น จำนวน 10 กระสอบๆ ละ 1,800 บาท เป็นเงิน 18,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 18,000.00 บาท 0.00 บาท 18,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร
9. ฟางอัดก้อน จำนวน 100 ก้อนๆ ละ 60 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร
10. แกลบดิบ จำนวน 2 คันรถๆ ละ 2,000 บาท เป็นเงิน 4,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร
11. ถังน้ำสำหรับไก่ จำนวน 18 ถังๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 900 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 900.00 บาท 0.00 บาท 900.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน
1. กระดาษ A4 ซองน้ำตาล ปากกาเคมี ฯลฯ เป็นเงิน 2,000 บาท
2. ค่าถ่ายเอกสาร จำนวน 4,000 แผ่นๆ ละ 0.50 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 4,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 500000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล