21086 : โครงการสนับสนุนงานมูลนิธิโครงการหลวง
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
นายอดิศักดิ์ การพึ่งตน (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 22/1/2567 14:46:36
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
02/10/2566  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  500  คน
รายละเอียด  เกษตรกรในพื้นที่ศูนย์พัฒนาโครงการหลวง 5 แห่ง
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบโครงการพระราชดำริ 2567 2,451,400.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย อดิศักดิ์  การพึ่งตน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชินพันธ์  ธนารุจ
นาย สวาท  ใจสักเสริญ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.3.2 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.3.2.1 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ วส67-ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ วส67-1.4 เป็นหน่วยงานที่สนองงานโครงการตามพระราชดำริ
ตัวชี้วัด วส67-12. จำนวนแหล่งเรียนรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการเกษตรที่สนองงานตามพระราชดำริ
กลยุทธ์ วส67-1.4.1 สนับสนุนโครงการบริการวิชาการเพื่อสนองงานโครงการตามพระราชดำริ และพัฒนาต่อยอดเป็นแหล่งเรียนรู้เพื่อการศึกษาดูงานและสร้างรายได้
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (รัชกาลที่ 9) ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ก่อตั้งโครงการหลวงขึ้น เมื่อปี พ.ศ. 2512 เนื่องจากทรงทราบถึงปัญหาการปลูกฝิ่นที่กระจายอยู่ทั่วไป ชาวไทยภูเขาไม่มีรายได้จากแหล่งอื่นนอกจากฝิ่น แต่ยากจนและมีการถางป่าเพื่อทำไร่เลื่อนลอย จึงต้องมีการอพยพโยกย้ายถิ่นฐาน และพื้นที่ทำกินอยู่ตลอด อีกทั้งยังมีปัญหาด้านความมั่นคงในพื้นที่ตามแนวชายแดน ต่อมาในปี พ.ศ. 2535 ทรงโปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนสถานภาพเป็นมูลนิธิโครงการหลวง มูลนิธิโครงการหลวงมุ่งส่งเสริม และพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ของชาวไทยภูเขา โดยการนำเอาพันธุ์พืชและสัตว์ที่ผ่านการวิจัยเป็นผลสำเร็จและมีความเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ เทคโนโลยีการเพาะปลูก การเลี้ยงสัตว์ และการจัดการหลังเก็บเกี่ยว ไปสู่เกษตรกร ตลอดจนส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาสังคม เพื่อให้เกิดการพึ่งพาตนเอง และฟื้นฟูป่าต้นน้ำลำธารสิ่งแวดล้อม โดยกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน องค์กรท้องถิ่น และหน่วยงานราชการต่าง ๆ อย่างใกล้ชิด ที่ร่วมปฏิบัติงานในพื้นที่ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงทั้ง 39 แห่ง บนพื้นที่สูงของจังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน ลำพูน พะเยา และจังหวัดตาก ในส่วนของมหาวิทยาลัยแม่โจ้นั้น ได้สนับสนุนงานมูลนิธิโครงการหลวงอยู่ 5 ศูนย์พัฒนา คือ 1. ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงหมอกจ๋าม ตำบลท่าตอน อำเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ จัดตั้งเมื่อปี พ.ศ.2522 2. ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงสะโง๊ะ ตำบลศรีดอนมูล อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย จัดตั้งเมื่อปี พ.ศ.2522 3. ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงทุ่งหลวง ตำบลแม่วิน อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่ จัดตั้งเมื่อปี พ.ศ 2522 4. ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงแม่สาใหม่ ตำบลโป่งแยง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ จัดตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2525 5. ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงแม่ปูนหลวง ตำบลแม่แวน อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ จัดตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2523 จึงมีความจำเป็นต้องขยายพื้นที่งานพัฒนาและส่งเสริมอาชีพเพิ่มขึ้น ทั้งพืชผัก พืชไร่ ไม้ดอกไม้ประดับ ไม้ผล พืชสมุนไพรและการเลี้ยงสัตว์ เพื่อให้เกษตรกรบางครอบครัวที่ยังไม่ได้รับแผนหรือโอกาสการผลิต รวมทั้งยังไม่ได้เป็นสมาชิกเข้าร่วมกิจกรรมการพัฒนา เพื่อสร้างอาชีพและรายได้ที่มั่นคง ดังนั้นงานพัฒนาและส่งเสริมอาชีพแก่เกษตรกรจึงควรดำเนินการต่อไป เพราะหากดำเนินการอย่างไม่ต่อเนื่องก็จะส่งผลให้เกษตรกรขาดอาชีพและรายได้ หันไปตัดไม้ทำลายป่า ทำไร่เลื่อนลอย และเกี่ยวข้องกับพืชเสพติด ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาตามมาอีกหลายประการ

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อสนับสนุนการสนองงานโครงการตามพระราชดำริ
2. เพื่อสนองพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (รัชกาลที่ 9) ทรงก่อตั้งมูลนิธิโครงการหลวง เมื่อปี พ.ศ. 2512 และสนองพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 10) ตามพระราชปณิธาน สืบสาน รักษา และต่อยอด
3. เพื่อสนับสนุนการพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ที่เหมาะสม ต่อการนำเอาพันธุ์พืช พันธุ์สัตว์ ไปส่งเสริมอาชีพบนพื้นที่สูงอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
4. เพื่อสนับสนุนการพัฒนาศูนย์พัฒนาพัฒนาโครงการหลวง ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ในการปลูกพืช และเลี้ยงสัตว์บนพื้นที่สูง ที่มีความหลากหลาย
5. เพื่อให้ชุมชนบนพื้นที่สูง ในพื้นที่ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ยกระดับคุณภาพชีวิต รวมทั้งสามารถพึ่งพาตนเองได้
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : สนับสนุนงานมูลนิธิโครงการหลวง
KPI 1 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 90 90 90 ร้อยละ 90
KPI 2 : ร้อยละของผู้เข้ารับบริการมีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 80 80 80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 90 90 90 ร้อยละ 90
KPI 4 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่รับบริการวิชาการ และวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 80 80 80 ร้อยละ 80
KPI 5 : ผลกระทบด้านเศรษฐกิจและสังคม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
4 คะแนน 4
KPI 6 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 80 80 80 ร้อยละ 80
KPI 7 : จำนวนผู้เข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
125 125 125 125 คน 500
KPI 8 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.581 0.639337 0.598207 0.632856 ล้านบาท 2.4514
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : สนับสนุนงานมูลนิธิโครงการหลวง
ชื่อกิจกรรม :
- กิจกรรมวางแผนการผลิตพืชผัก พืชไร่ ไม้ดอกไม้ประดับ ไม้ผล พืชสมุนไพร และปศุสัตว์ และปฏิบัติงานตามแผนที่วางไว้
- กิจกรรมปฏิบัติงานแปลงสาธิต และงานส่งเสริมอาชีพแก่เกษตรกร ตลอดจนสนับสนุนแรงงาน ตัดแต่ง คัดเกรด และบรรจุหีบห่อผลผลิต
- กิจกรรมติดต่อประสานงานรวมทั้งร่วมประชุมคณะทำงานในพื้นที่กับศูนย์พัฒนาโครงการหลวง จำนวน 5 แห่ง และจัดทำเอกสารรายงานและประสานงานสำนักงานมูลนิธิโครงการหล

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 02/10/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายอดิศักดิ์  การพึ่งตน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชินพันธ์  ธนารุจ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายสวาท  ใจสักเสริญ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
-จ้างบริการสนับสนุนงานด้านประสานงานโครงการ วุฒิ ป.ตรี (1 คน x 12 เดือน x 15,000 บาท) เป็นเงิน 180,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
45,000.00 บาท 45,000.00 บาท 45,000.00 บาท 45,000.00 บาท 180,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- จ้างบริการสนับสนุนงานด้านเกษตร ผลิตปุ๋ย ตัดหญ้า ดูแลและจัดทำแปลงปลูกสาธิตการปลูกพืชผัก ตัดแต่ง คัดเกรด ชั่งน้ำหนัก บรรจุถุง ติดสติ๊กเกอร์พร้อมจำหน่าย พืชผัก และไม้ดอกไม้ประดับ ได้แก่ ผักกาดหอมห่อ ผักกาดหวาน หอมญี่ปุ่น กะหล่ำปลี มะเขือเทศผลโต พริกหวานเขียว พริกหวานแดง พริกหวานเหลือง มันฝรั่ง ข้าวโพดหวาน 2 สี พลัม สาลี่ พีช เบบี้ฮ่องเต้ แรดิช เซเลอรี่ มะเขือม่วง แตงกวา มะระหยก มะระขาว ผักบุ้งจีน ผักกาดขาว คะน้า ผักกาดหัว หอมเบ่ง ไม้ดอกไม้ประดับ เช่น สนช่อดาว ปักษาสวรรค์ บอลลูน ยิปโซฟิลล่า สแตติสแคสเปียร์ เพอริสิอายด์
(25 คน x 12 เดือน x 6,700 บาท)
(2 คน x 11 เดือน x 6,700 บาท)
เป็นเงิน 2,157,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
536,000.00 บาท 536,000.00 บาท 542,700.00 บาท 542,700.00 บาท 2,157,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าจ้างเหมารถยนต์พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง
(2 วัน x 2,800 บาท x 1 ครั้ง) เป็นเงิน 5,600 บาท
(1 วัน x 2,800 บาท x 1 ครั้ง) เป็นเงิน 2,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,400.00 บาท 8,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทาง ติดตามงาน
(1 คน x 1 วัน x 240 บาท x 3 ครั้ง) เป็นเงิน 720
(2 คน x 1 วัน x 240 บาท x 1 ครั้ง) เป็นเงิน 480
(1 คน x 2 วัน x 240 บาท x 2 ครั้ง) เป็นเงิน 960
(2 คน x 2 วัน x 240 บาท x 1 ครั้ง) เป็นเงิน 960
(2 คน x 3 วัน x 240 บาท x 1 ครั้ง) เป็นเงิน 1,440
(5 คน x 1 วัน x 240 บาท x 1 ครั้ง) เป็นเงิน 1,200
(7 คน x 2 วัน x 240 บาท x 1 ครั้ง) เป็นเงิน 3,360
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 2,160.00 บาท 240.00 บาท 6,720.00 บาท 9,120.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าที่พักเหมาจ่าย ติดตามงาน
(1 คน x 1 คืน x 800 บาท x 2 ครั้ง) เป็นเงิน 1,600 บาท
(2 คน x 1 คืน x 800 บาท x 1 ครั้ง) เป็นเงิน 1,600 บาท
(2 คน x 2 คืน x 800 บาท x 1 ครั้ง) เป็นเงิน 3,200 บาท
(7 คน x 1 คืน x 800 บาท x 1 ครั้ง) เป็นเงิน 5,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 1,600.00 บาท 0.00 บาท 10,400.00 บาท 12,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าชดเชยน้ำมันเชื้อเพลิง ติดตามงาน
(2,278 บาท x 2 ครั้ง) เป็นเงิน 4,556 บาท
(836 บาท x 1 ครั้ง) เป็นเงิน 836 บาท
(667 บาท x 1 ครั้ง) เป็นเงิน 667 บาท
(1,463 บาท x 1 ครั้ง) เป็นเงิน 2,926 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 4,577.00 บาท 667.00 บาท 3,741.00 บาท 8,985.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าพาหนะเดินทาง (น้ำมันเชื้อเพลิง) (1 ครั้ง x 1,000 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,000.00 บาท 1,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ คลิปหนีบกระดาษ ค่าถ่ายเอกสาร ฯลฯ เป็นเงิน 4,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร เช่น พลาสติกคลุมแปลง ปุ๋ย ฯลฯ เป็นเงิน 50,000บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 50,000.00 บาท 0.00 บาท 14,895.00 บาท 64,895.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกพิมพ์ ฯลฯ เป็นเงิน 5,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 5,600.00 บาท 0.00 บาท 5,600.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 2451400.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล