21081 : โครงการผลิตและขยายพันธุ์พืชเพื่อให้บริการแก่เกษตรกร
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
นายอดิศักดิ์ การพึ่งตน (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
02/10/2566  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  150  คน
รายละเอียด  เกษตรกรผู้สนใจ และหน่วยงานต่างๆ ที่ต้องการเมล็ดพันธุ์พืช เมล็ดพันธุ์ข้าวไรซ์เบอรี่หอมมะลิดำ ข้าวกล้องบรรจุถุงสูญญากาศ และต้นกล้าเก๊กฮวย
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน โครงการบริการวิชาการ 2567 330,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย อดิศักดิ์  การพึ่งตน
นาย เสกสรร  สงจันทึก
น.ส. วัชรินทร์  จันทวรรณ์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.3.2 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.3.2.1 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ วส67-ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ วส67-1.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชน ด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด วส67-11. รายได้จากการให้บริการ
กลยุทธ์ วส67-1.3.4 พัฒนาหลักสูตรอบรมระยะสั้นและระยะยาว เพื่อตอบสนองความต้องการใช้บริการวิชาการจากภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนในชุมชนท้องถิ่น
กลยุทธ์ วส67-1.3.5 พัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการจากองค์ความรู้ทางวิชาการและเทคโนโลยีใหม่ ๆ เพื่อตอบสนองความต้องการของตลาด
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

งานปรับปรุงพันธุ์และขยายพันธุ์พืชและสัตว์ กองบริหารงานบริการวิชาการ สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร มุ่งเน้นการปรับปรุงพันธุ์ และขยายพันธุ์พืชและสัตว์ เพื่อให้บริการแก่เกษตรกรอย่างต่อเนื่อง ดำเนินงานทางด้านพืชไร่ เช่น การปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพด ข้าวโพดไร่ และข้าวโพดหวานทานสด รวมถึงการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวไรซ์เบอรี่ ข้าวหอมมะลิดำพันธุ์ดี เพื่อเป็นทางเลือกให้กับเกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดและข้าวกล้อง ด้านพืชสวน มีการพัฒนาองค์ความรู้ด้านการปรับปรุงพันธุ์และคัดเลือกสายพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับพันธุ์ดี มีการส่งเสริมอาชีพให้กับชุมชนในพื้นที่ใกล้เคียงมหาวิทยาลัยแม่โจ้ เช่น การส่งเสริมการปลูกเก๊กฮวย การส่งเสริมการผลิตดอกเบญจมาศ สร้างอาชีพและรายได้ให้กับชุมชนบ้านโปง ด้านพืชผัก มีการพัฒนาและคัดเลือกสายพันธุ์พืชเพื่อตอบสนองต่อการปลูกในระบบเกษตรปลอดภัย เช่น การคัดเลือกถั่วฝักยาวสายพันธุ์ YLB-2 ที่มีศักยภาพในการเจริญเติบโตได้ดี ทนโรคและแมลงในการเข้าทำลาย คัดเลือกสายพันธุ์กระเจี๊ยบเขียวต้นเตี้ย รวมถึงการทดสอบการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดหวาน เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรผู้ที่สนใจ จากสถานการณ์โรคระบาดโควิด-19 ในปีที่ผ่านมา ทำให้ประเทศไทยและทั่วโลกได้รับผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจและความเป็นอยู่อย่างมาก ต้องพึ่งพาตัวเองในการดำรงชีวิตประจำวัน การปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์เพื่อบริโภคเองจึงเป็นทางเลือกที่สำคัญใน สถาณการณ์ที่เกิดขึ้น และการส่งเสริมให้เกษตรกรได้รับสายพันธุ์ด้านพืชและสัตว์ที่ดี จะช่วยสร้างอาชีพและสร้างรายได้ในชุมชน ทำให้ชุมชนมีการพึ่งพาตนเอง มีคุณภาพชีวิตที่ดี และพอเพียงต่อการดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หรือแนวทางการดำเนินชีวิตและวิถีปฏิบัติตามพระราชดำริของพระเจ้าอยู่หัวฯ งานปรับปรุงพันธุ์และขยายพันธุ์พืชและสัตว์ มีการพัฒนาและคัดเลือกสายพันธุ์พืชและสัตว์ในระบบปลอดภัย เพื่อเป็นทางเลือกให้กับเกษตรกร สร้างรายได้และอาชีพในท้องถิ่นสามารถพึ่งพาตนเองได้ รวมถึงการรวบรวมองค์ความรู้เพื่อเผยแพร่ให้กับชุมชน เกษตรกร และบูรณาการด้านการเรียน การสอน การวิจัย และการบริหารจัดการของมหาวิทยาลัยได้

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อเป็นแหล่งผลิตเมล็ดพันธุ์พืช
2. เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้แนะนำการผลิตเมล็ดพันธุ์พืช และการให้บริการเมล็ดพันธุ์
3. เพื่อเป็นแปลงผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวไรซ์เบอรี่และข้าวหอมมะลิดำ
4. เพื่อเป็นแปลงเรียนรู้แนะนำการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวไรซ์เบอรี่ และการให้บริการเมล็ดพันธุ์ข้าวไรซ์เบอรี่และข้าวหอมมะลิดำ
5. เพื่อให้เกษตรกรและผู้ที่สนใจสามารถพัฒนาและผลิตเมล็ดพันธุ์ไว้ใช้เอง สามารถพึ่งพาตนเองได้ตามแนวพระราชดำริของพระเจ้าอยู่หัวฯ
6. เพื่อสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมของโครงการพัฒนาบ้านโปงอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
7. เพื่อสร้างรูปแบบ (Model) การผลิตต้นพันธุ์เก๊กฮวยคุณภาพดี
9. เพื่อการผลิตต้นพันธุ์เก๊กฮวย ส่งเสริมเป็นทางเลือกให้เกษตรกร
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : การผลิตและขยายพันธุ์พืชเพื่อให้บริการแก่เกษตรกร
KPI 1 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
85 ร้อยละ 85
KPI 2 : เมล็ดพันธุ์ข้าวหอมมะลิดำ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
250 250 กิโลกรัม 500
KPI 3 : ชุดเมล็ดพันธุ์พืช
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
500 ชุด 500
KPI 4 : พื้นที่ต้นแบบการผลิตเมล็ดพันธุ์พืช
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 ไร่ 2
KPI 5 : แหล่งเรียนรู้การผลิตพันธุ์ข้าวไรซ์เบอรี่ และข้าวหอมมะลิดำ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 แหล่ง 1
KPI 6 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 7 : เมล็ดพันธุ์แตงกวา
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
5 กิโลกรัม 5
KPI 8 : เมล็ดพันธุ์ถั่วฝักยาว
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 50 กิโลกรัม 100
KPI 9 : พื้นที่แปลงสาธิตการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวไรซ์เบอรี่และข้าวหอมมะลิดำ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
5 ไร่ 5
KPI 10 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 50 คน 150
KPI 11 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 12 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.314 0.016 ล้านบาท 0.33
KPI 13 : ข้าวกล้องบรรจุถุง ขนาด 1 กิโลกรัม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
500 500 กิโลกรัม 1000
KPI 14 : เมล็ดพันธุ์ข้าวไรซ์เบอรี่
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
250 250 กิโลกรัม 500
KPI 15 : เมล็ดพันธุ์ข้าวโพดหวาน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 50 กิโลกรัม 100
KPI 16 : ผลิตต้นพันธุ์เก๊กฮวยคุณภาพดี
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10000 10000 ต้น 20000
KPI 17 : แหล่งเรียนรู้การผลิตพันธุ์พืช
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 แหล่ง 1
KPI 18 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : การผลิตและขยายพันธุ์พืชเพื่อให้บริการแก่เกษตรกร
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 การผลิตเมล็ดพันธุ์พืช

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 02/10/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
น.ส.วัชรินทร์  จันทวรรณ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาคนงานเกษตร (ปฏิบัติงานแปลงผลิตเมล็ดพันธุ์ จำนวน 1 งาน เป็นเงิน 56,000 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 56,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 56,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำสติ๊กเกอร์ติดซองเมล็ดพันธุ์ (จำนวน 2,000 แผ่น ๆ ละ 40 บาท เป็นเงิน 8,000 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 8,000.00 บาท 0.00 บาท 8,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ A4 ปากกาเคมี ฯลฯ เป็นเงิน 3,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร เช่น ขี้วัว ถาดเพาะกล้า พลาสติกคลุมแปลง ปุ๋ยอินทรีย์ผง ขุยมะพร้าว วัสดุเพาะกล้า ฯลฯ เป็นเงิน 58,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 58,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 58,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 125000.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 2 การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวไรซ์เบอรี่และข้าวหอมมะลิดำ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 02/10/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายเสกสรร  สงจันทึก (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาคนงานเกษตร (ปฏิบัติแปลงสาธิตการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวไรซ์เบอรี่ และข้าวหอมมะลิ จำนวน 1 งาน เป็นเงิน 50,000 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 50,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 50,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
จ้างเหมาจัดทำสติ๊กเกอร์ติดถุงข้าวไรซ์ (จำนวน 200 แผ่น ๆ ละ 40 บาท เป็นเงิน 8,000 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 8,000.00 บาท 0.00 บาท 8,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น ค่าถ่ายเอกสาร เป็นเงิน 2,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 2,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร เช่น กระสอบบรรจุข้าว ปุ๋ยอินทรีย์ เชื้อไตรโคเดอร์ม่า ถุงบรรจุข้าว เป็นเงิน 65,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 65,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 65,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 125000.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 3 ผลิตต้นพันธุ์เก๊กฮวยคุณภาพดีเพื่อบริการแก่ชุมชน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 02/10/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายอดิศักดิ์  การพึ่งตน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกพิมพ์ ฯลฯ เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เช่น ถุงดำ น้ำยาล้างจาน ถุงพลาสติกใส เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุไฟฟ้า เช่น หลอดไฟ ฯลฯ เป็นเงิน 10,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 10,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์ เช่น เจลไลท์ ฯลฯ เป็นเงิน 8,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 8,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร เช่น ปุ๋ยอินทรีย์ พีทมอส พลาสติกคลุมแปลง สแลนพรางแสง ฯลฯ เป็นเงิน 52,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 52,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 52,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 80000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
1. การผลิตเมล็ดพันธุ์ถั่วฝักยาว โรคและแมลงเข้าทำลายต้นพืช
2. การผลิตเมล็ดพันธุ์แตงกวา โรคและแมลงเข้าทำลายต้นพืช
3. การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดหวาน โรคและแมลงเข้าทำลายต้นพืช
4. การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวไรซ์เบอรี่ โรคและแมลงเข้าทำลายต้นพืช
8. สภาพอากาศที่แปรปรวน ส่งผลกระทบต่อการปลูกเลี้ยงแม่พันธุ์สำหรับผลิตท่อนพันธุ์
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
1. การผลิตเมล็ดพันธุ์ถั่วฝักยาว หมั่นตรวจสอบ และใช้สารชีวภัณฑ์ในการป้องกันอย่างสม่ำเสมอ
2. การผลิตเมล็ดพันธุ์แตงกวา หมั่นตรวจสอบ และใช้สารชีวภัณฑ์ในการป้องกันอย่างสม่ำเสมอ
3. การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดหวาน หมั่นตรวจสอบดูแปลงและป้องกันอย่างสม่ำเสมอ
4. การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวไรซ์เบอรี่ หมั่นตรวจสอบ และใช้สารชีวภัณฑ์ในการป้องกันอย่างสม่ำเสมอ
5. การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวหอมมะลิดำ หมั่นตรวจสอบดูแปลงและป้องกันอย่างสม่ำเสมอ
6. การผลิตข้าวกล้องบรรจุถุง ต้องทำการอบเพื่อฆ่าไข่และตัวของแมลงก่อนที่จะทำการบรรจุสุญญากาศ
7. เกิดการระบาดของโรคและแมลง หมั่นตรวจสอบแปลงปลูกอย่างสม่ำเสมอ หากพบการระบาดให้รีบดำเนินการป้องกันกำจัด
8. สภาพอากาศที่แปรปรวน วางแผนการผลิตที่มีความยืดหยุ่นสามารถปรับเปลี่ยนแผน ให้เกิดความเหมาะสมต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นได้
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล