21056 : โครงการศูนย์ความเป็นเลิศด้านวิจัยและบริการวิชาการ: การเพาะเลี้ยงสาหร่าย แพลงก์ตอนพืช และสัตว์น้ำเศรษฐกิจเพื่อผลิตอาหารปลอดภัยตามแนวทาง Well- Being @Chumphon (กลุ่มการประมงและทรัพยากรทางทะเล) ประจำปี 2567
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรพิมล พิมลรัตน์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2566  ถึง  30/09/2567
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  บุคคลากร นักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร และบุคคลทั่วไปที่สนใจ จำนวน 50 คน
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน ไม่ใช้งบประมาณ 2567 0.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พรพิมล  พิมลรัตน์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กมลวรรณ  ศุภวิญญู
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 1.1 ความสำเร็จของการบริหารจัดการและพัฒนามหาวิทยาลัยตามนโยบายสภามหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 1.1.1 ร้อยละความสำเร็จของการขับเคลื่อนการดำเนินงานตามนโยบายสภามหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 67-70 MJU 1.1.1.1 สนับสนุนและขับเคลื่อนการดำเนินงานตามนโยบายสภามหาวิทยาลัยทุกด้านให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.67 : 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.67 : 1.1 ความสำเร็จของการบริการจัดการและพัฒนามหาวิทยาลัยตามนโยบายสภามหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.67 : 1.1.1 ร้อยละความสำเร็จของการขับเคลื่อนการดำเนินงานตามนโยบายสภามหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ มจ.ชพ.67 : 1. ขับเคลื่อนการดำเนินงานตามนโยบาย สภามหาวิทยาลัยด้านทรัพย์สิน การเงินและการลงทุน
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.67 : 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.67 : 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคมชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.67 : 2.3.3 โครงการศูนย์ความเป็นเลิศด้านวิจัยและบริการวิชาการเพื่อผลิตอาหารปลอดภัยตามแนวทาง Well- Being @Chumphon
กลยุทธ์ มจ.ชพ.67 : 30. ขับเคลื่อนความเป็นอัตลักษณ์ของคณะให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อสร้างจุดแข็งให้เกิดขึ้นภายในองค์กร
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร เป็นหน่วยงานหนึ่งที่มีความเป็นเลิศทางด้านการเกษตรในพื้นที่ภาคใต้ตอนบนและความมีความเชี่ยวชาญในศาสตร์หลายแขนง ทั้งนี้เนื่องจากมีงานวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมการเกษตรอัจฉริยะ (Smart Agriculture) ให้มีความสอดคล้องกับความต้องการ สภาพแวดล้อม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และบริบทของภาคใต้ตอนบนอย่างมากมาย และพร้อมช่วยแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เกษตรกรประสบ เพื่อผลิตสินค้าเกษตรที่มีมูลค่าเศรษฐกิจและคุณภาพสูงออกมา ดังนั้น โครงการนี้เห็นควรยกระดับศูนย์ความเป็นเลิศด้านวิจัยและบริการวิชาการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเศรษฐกิจมูลค่าสูงให้ดีขึ้น เพื่อใช้ดำเนินกิจกรรมตั้งแต่เริ่มจัดทำแผนพัฒนาอาชีพในแต่ละตำบล เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาใช้เป็นแนวทางในพัฒนาศักยภาพประชาชนและสร้างทักษะในการประกอบอาชีพ โดยส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายใช้ฐานทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์อย่างเต็มที่ในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชนิดต่างๆ เช่น ปลานวลจันทร์ทะเล, กุ้งขาวแวนนาไม ปูม้า ปูทะเล ปลากะพงขาว หอยนางรม หอยตลับ หมึก และสาหร่ายขนาดเล็ก/ขนาดใหญ่ ตลอดจนนำองค์ความรู้และนวัตกรรมแล้วนำเทคโนโลยีต่างๆ เช่น การใช้ระบบ recirculating aquaculture system (RAS) และนวัตกรรมการเกษตรอัจฉริยะ (Smart Agriculture) ในการผลิตสัตว์น้ำเศรษฐกิจมูลค่าสูงที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ส่วนกลางทางเป็นการพัฒนาสารสกัดจากสาหร่าย สมุนไพร และสัตว์น้ำให้เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีคุณค่าและมูลค่าสูง ในบรรจุภัณฑ์ที่ดีที่ช่วยรักษาคุณภาพ สร้างความน่าสนใจและดึงดูดผู้บริโภค และอำนวยความสะดวกในการจัดวางขนส่งและจัดแสดง ผ่านช่องทางต่างๆ เช่น ตลาดสินค้าออนไลน์ และตลาดใต้เคี่ยมที่อยู่ติดกับมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร จัดอยู่ในช่วงปลายทางไปยังผู้บริโภค ส่งผลให้กลุ่มเป้าหมายสามารถพึ่งพาตนเองทางด้านอาหาร มีหลักประกันมั่นคงด้านอาชีพและมีรายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 3 ส่งผลให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี รวมทั้งมีส่วนผลักดันให้มีเกษตรรุ่นใหม่เข้าสู่ภาคเกษตรอย่างต่อเนื่อง โดยให้ความสำคัญกับการอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อสนับสนุนฐานการผลิตการเกษตรที่เข็มแข็งและยั่งยืน การจัดระบบการผลิตให้สอดคล้องกับศักยภาพพื้นที่ อีกทั้งยังเป็นการเตรียมความพร้อมรองรับการพัฒนาเป็นพื้นที่เศรษฐกิจใหม่ด้านการท่องเที่ยวของภาคใต้ตอนบนอีกทางหนึ่ง

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อผลิตบุคลากรทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและสร้างเกษตรกรรุ่นใหม่ด้านการประมงเข้าสู่ภาคเกษตรอย่างต่อเนื่อง
เพื่อพัฒนาและบริการวิชาการการผลิตสาหร่ายขนาดเล็กและขนาดใหญ่มูลค่าสูงรองรับอาหารสุขภาพและอาหารสัตว์น้ำวัยอ่อน
เพื่อให้นักศึกษาสาขานวัตกรรมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งได้ประยุกต์องค์ความรู้ที่ได้จากการเรียน เช่น รายวิชาคุณภาพน้ำ รายวิชามีนวิทยา รายวิชาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง รายวิชาเทคโนโลยีชีวภาพเบื้องต้นทางการประมง รายวิชาการปฏิบัติงานฟาร์มประมง 1 และ 2 และรายวิชาโรคและการวินิจฉัยโรคสัตว์น้ำเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันและนำไปใช้ประโยชน์เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
เพื่ออบรมถ่ายทอดการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งเศรษฐกิจมูลค่าสูง
เพื่อพัฒนาและบริการวิชาการใช้เทคโนโลยี recirculating aquaculture system (RAS) และนวัตกรรมการเกษตรอัจฉริยะ (Smart Agriculture) ในผลิตสัตว์น้ำเศรษฐกิจมูลค่าสูงในเชิงพาณิชย์มุ่งสู่ประมงอินทรีย์และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
เพื่อพัฒนาและบริการวิชาการการผลิตสารสกัดจากสาหร่าย สมุนไพรและสัตว์น้ำที่มีคุณค่าและมูลค่าสูง
เพื่อสร้างสรรค์สื่อดิจิทัลนำไปสู่การเสริมสร้างพฤติกรรมการดำรงชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผลลัพธ์ของการจัดทำโครงการ เช่น บุคลากรทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและสร้างเกษตรกรรุ่นใหม่ด้านการประมงเข้าสู่ภาคเกษตร เป็นต้น
KPI 1 : ร้อยละของนักศึกษาที่ได้รับความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 2 : จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 คน 50
KPI 3 : ร้อยละความพึงพอใจของจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผลลัพธ์ของการจัดทำโครงการ เช่น บุคลากรทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและสร้างเกษตรกรรุ่นใหม่ด้านการประมงเข้าสู่ภาคเกษตร เป็นต้น
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรม 1 : กิจกรรมการสร้างสรรค์สื่อดิจิทัลเพื่อเสริมสร้างพฤติกรรมการดำรงชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/12/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.จุฑามาส  เพ็งโคนา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ดร.ณรงค์  โยธิน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.สายทอง  สุจริยาพงศ์พร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.ศิริมาศ  เจี้ยมกลิ่น (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.ฐิตาภรณ์  ปิโม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางสาวเพชรณี  ศรีมูล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.สุวนันท์  สุวรรณเนาว์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายสานิตย์  แป้นเหลือ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่เบิกค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 2 การพัฒนาและบริการวิชาการ : ธนาคารปูม้าเพื่อการอนุรักษ์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ยุทธนา  สว่างอารมย์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่เบิกค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 3 การพัฒนาและบริการวิชาการ : การใช้เทคโนโลยี recirculation aquaculture (RAS) zero waste และนวัตกรรมการเกษตรอัจฉริยะ (Smart Agriculture) ในการผลิตสัตว์น้ำเศรษฐกิจมูลค่าสูงในเชิงพาณิชย์มุ่งสู่ประมงอินทรีย์และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม: การเลี้ยงปลากะพงขาวในระบบน้ำหมุนเวียน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/12/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กมลวรรณ  ศุภวิญญู (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่เบิกค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 4 การพัฒนาและบริการวิชาการการผลิตสาหร่ายขนาดเล็กและขนาดใหญ่มูลค่าสูงรองรับอาหารสุขภาพและอาหารสัตว์น้ำวัยอ่อน: นวัตกรรมการผลิตอาหารสัตว์น้ำวัยอ่อนในระบบปิดเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรพิมล  พิมลรัตน์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่เบิกค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 5 การพัฒนาและบริการวิชาการ: ฐานการเรียนรู้สวนสมุนไพรไทยและสมุนไพรในท้องถิ่นมหาวิทยาลัยแม่โจ้ชุมพร
(ผู้รับผิดชอบ: อาจารย์พัชรินทร์ วิริยะสุขสวัสดิ์)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/12/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์พัชรินทร์  วิริยะสุขสวัสดิ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่เบิกค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
เพื่อให้นักศึกษาสาขานวัตกรรมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งได้ประยุกต์องค์ความรู้ที่ได้จากการเรียน เช่น รายวิชาคุณภาพน้ำ รายวิชามีนวิทยา รายวิชาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง รายวิชาเทคโนโลยีชีวภาพเบื้องต้นทางการประมง รายวิชาการปฏิบัติงานฟาร์มประมง 1 และ 2 และรายวิชาโรคและการวินิจฉัยโรคสัตว์น้ำเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันและนำไปใช้ประโยชน์เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
ช่วงเวลา : 01/12/2566 - 30/09/2567
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล