21039 : โครงการ การพัฒนาตลาดดิจิทัลผลิตภัณฑ์ Eco-print
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 6/12/2566 14:37:55
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/11/2566  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  26  คน
รายละเอียด  ประชาชนกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผลิตภัณฑ์และหัตถกรรมบ้านแม่ลานเหนือ อำเภอลอง จังหวัดแพร่
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบบริการวิชาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 ของสำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 2567 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. น้ำฝน  รักประยูร
อาจารย์ ดร. นิติกาญจน์  นาคประสม
อาจารย์ ดร. เกศินี  วีรศิลป์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.3.1.2 ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-6 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
เป้าประสงค์ 67-6.5 การพัฒนาตามยุทธศาสตร์ / อัตลักษณ์ / ภารกิจเฉพาะของส่วนงาน
ตัวชี้วัด 67-6.5.3 จำนวนโครงการบริการวิชาการ ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาลัยด้าน Organic Green Eco
กลยุทธ์ 67-6.5.3.1 ส่งเสริมและยกระดับโครงการบริการวิชาการที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาลัยด้าน Organic Green Eco
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

จากพระราชดำรัสของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้กล่าวไว้ตอนหนึ่งว่า “การเกษตรยังคงต้องพึ่งพาทรัพยากรสำคัญ ได้แก่ ดิน และน้ำ เช่นที่เคยเป็นมา นักศึกษาทั้งหลายที่จะเป็นเกษตรกรแห่งอนาคต จึงควรจะต้องศึกษา และทำความเข้าใจธรรมชาติของทรัพยากร 2 สิ่งนี้ ให้มีความรู้ถ่องแท้ และศึกษาค้นคว้า ทดลองหาวิธีทำการเกษตรที่เหมาะสม อย่างที่สมัยนี้เรียกกันว่า เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม คือไม่ทำความเสียหายแก่ทรัพยากร หรือเมื่อทรัพยากรเสื่อมโทรมลง ก็ต้องเรียนรู้วิธีอนุรักษ์ เพื่อให้เกิดความยั่งยืน สามารถใช้ประโยชน์สืบต่อไปได้อีกหลายชั่วอายุคน” (พระราชดำรัส การประชุมวิชาการระดับชาติ องค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีอุทัยธานี ตำบลหนองแก อำเภอเมืองอุทัยธานี จังหวัดอุทัยธานี วันที่ 03 กุมภาพันธ์ 2560) สอดคล้องกับการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมหรือที่เรียกว่า Eco-design ซึ่งจะเครื่องมือสร้างกลยุทธ์ทางการตลาดที่ตอบโจทย์ผู้บริโภคที่ห่วงใยในสภาพสิ่งแวดล้อม คำนึงถึงทรัพยากรที่เพียงพอและสิ่งแวดล้อมที่ดีสำหรับคนรุ่นต่อไป วิสาหกิจชุมชนผลิตภัณฑ์และหัตถกรรมบ้านแม่ลานเหนือ มีประธานกลุ่ม คือ นางหทัยรัตน์ ขันแก้ว อยู่บ้านเลขที่ 137/1 หมู่ที่ 11 บ้านแม่ลานเหนือ ตำบลห้วยอ้อ อำเภอลอง จังหวัดแพร่ ได้รับการสนับสนุนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ Eco print สู่ Eco-design เพื่อสร้างอัตลักษณ์ชุมชน ในปีงบประมาณ 2566 มีการใช้นวัตกรรมด้านการย้อมสีจากใบไม้และการออกแบบที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาด Eco-design และมีการนำนวัตกรรมด้านเทคโนโลยีการย้อมสีผ้าจากใบไม้ของ รศ.ดร.ณัฐพร จันทร์ฉาย มาใช้ในการถ่ายทอดไปยังกลุ่มเป้าหมาย การนำเอาองค์ความรู้ด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ การจัดทำแผนการตลาดและกลยุทธ์การตลาดของทีมงานไปสร้างอาชีพ พัฒนาออกแบบผลิตภัณฑ์เพื่อสามารถนำมาขายในเชิงพาณิชย์ได้ อย่างไรก็ตามถึงแม้จะมีการทำแผนการตลาดและกลยุทธ์การตลาดแต่ยังคงขาดองค์ความรู้ในการจัดจำหน่ายผ่านช่องทางการตลาดดิจิทัล ดังนั้นในปีที่ 2 ของการพัฒนาเพื่อก่อให้เกิดความยั่งยืน เนื่องจากสถานการณ์ปัจจุบันแนวโน้มการตลาดดิจิทัลกำลังได้รับความนิยม จึงจำเป็นต้องได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้ เช่น การสร้างเนื้อหา (content) ทางการตลาดดิจิทัล การวิเคราะห์กลุ่มเป้าหมาย กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการทำตลาดดิจิทัลและการบริหารจัดการในยุคดิจิทัล เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค โดยการดำเนินการของโครงการจะสอดคล้องกับ SDGs : ข้อ 12 Responsible Consumption and production สร้างหลักประกันให้มีรูปแบบการผลิตและการบริโภคที่ยั่งยืน (Ensure sustainable consumption and production patterns) เป้าประสงค์ประเด็น การสร้างความตระหนักถึงการพัฒนาที่ยั่งยืนในสังคม (12.8) ในเชิงนโยบาย การสนับสนุนขีดความสามารถทางเทคโนโลยี ของประเทศกำลังพัฒนาให้นำไปสู่รูปแบบการผลิตและบริโภคที่ยั่งยืนยิ่งขึ้นของผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น ข้อย่อย ของ SDGs 12.5 กิจกรรมการอบรมที่มีการส่งเสริมการให้ข้อมูล/การรับรู้ เกี่ยวกับการพัฒนาที่ยั่งยืนและการดำเนินชีวิตที่เกื้อกูลกับธรรมชาติ

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้การสร้างเนื้อหา (content) ทางการตลาดดิจิทัล
2. เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายตลาดดิจิทัลและการบริหารกลุ่มในยุคดิจิทัล
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ชุมชนสามารถนำความรู้/เทคโนโลยีจากงานบริการวิชาการไปพัฒนาโครงการเพื่อหาแหล่งทุน/ต่อยอด
KPI 1 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : จำนวนเนื้อหา (content) ได้แก่ รูปภาพ VDO
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 แบบ 2
KPI 3 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เกี่ยวกับการสร้างเนื้อหา (content) ทางการตลาดดิจิทัลเพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
70 ร้อยละ 70
KPI 4 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เกี่ยวกับกฎหมายตลาดดิจิทัลเพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
70 ร้อยละ 70
KPI 5 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
26 คน 26
KPI 6 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.02464 0.02536 ล้านบาท 0.05
KPI 7 : แผนบริหารกลุ่มในยุคดิจิทัล
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 แผน 1
KPI 8 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 9 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 10 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ชุมชนสามารถนำความรู้/เทคโนโลยีจากงานบริการวิชาการไปพัฒนาโครงการเพื่อหาแหล่งทุน/ต่อยอด
ชื่อกิจกรรม :
1 อบรมเชิงปฏิบัติการการสร้างเนื้อหา (content) ทางการตลาดดิจิทัล

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 29/11/2566 - 29/11/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.น้ำฝน  รักประยูร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.เกศินี  วีรศิลป์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.นิติกาญจน์  นาคประสม (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรม) จำนวน 26 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 100 บาท จำนวน 2 วัน เป็นเงิน 5,200 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรม) จำนวน 26 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท จำนวน 2 วัน เป็นเงิน 3,640 บาท
3. ค่าจ้างเหมารถตู้พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 2 วัน ๆ ละ 1 คัน ๆ ละ 2,500 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 13,840.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 13,840.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคปฏิบัติ (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 3 คน ๆ ละ 6 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท จำนวน 2 วัน เป็นเงิน 10,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 10,800.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,800.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 24640.00
ชื่อกิจกรรม :
2. อบรมเชิงปฏิบัติการกฎหมายเกี่ยวกับการตลาดดิจิทัลและการบริหารกลุ่มในยุคดิจิทัล

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 30/11/2566 - 30/11/2566
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.น้ำฝน  รักประยูร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.เกศินี  วีรศิลป์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.นิติกาญจน์  นาคประสม (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรม) จำนวน 26 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 100 บาท จำนวน 2 วัน เป็นเงิน 5,200 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรม) จำนวน 26 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท จำนวน 2 วัน เป็นเงิน 3,640 บาท
3. ค่าจ้างเหมารถพร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 2 วัน ๆ ละ 1 คัน ๆ ละ 2,500 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 13,840.00 บาท 0.00 บาท 13,840.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคปฏิบัติ (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 3 คน ๆ ละ 6 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท จำนวน 2 วัน เป็นเงิน 10,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 10,800.00 บาท 0.00 บาท 10,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษบรุ๊ฟ ดินสอ ยางลบ ฯ เป็นเงิน 720 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 720.00 บาท 0.00 บาท 720.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 25360.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
รายการเอกสารประกอบ
mju1-บก67-02doc-อ.น้ำฝน เดิม.pdf
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
รายวิชา 10200504 การเป็นผู้ประกอบการ ได้ทำการร่วมช่วยกันสร้างเนื้อหาสำหรับทำการตลาดดิจิทัลให้กับวิสาหกิจชุมชนผลิตภัณฑ์และหัตถกรรมบ้านแม่ลานเหนือ อำเภอลอง จังหวัดแพร่, รบ 332 การบริหารท้องถิ่นเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ให้นักศึกษาได้ร่วมกันวิเคราะห์สภาพแวดล้อมในยุคดิจิทัลและออกแบบรูปแบบการบริหารจัดการที่เหมาะสมสำหรับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนม, นธ 202 กฎหมายและจริยธรรมธุรกิจเชิงพาณิชย์ ให้นักศึกษาร่วมกันวิเคราะห์ กฎหมายและจริยธรรมธุรกิจเชิงพาณิชย์ที่เกี่ยวกับวิสาหกิจชุมชน
ช่วงเวลา : 30/11/2566 - 30/09/2567
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล