21027 : โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ศตวรรษที่ 21 นอกห้องเรียนเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตและอาชีพด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งตามหลักการเรียนรู้ตลอดชีวิต (lifelong learning) ประจำปี 2567
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรพิมล พิมลรัตน์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 30/11/2566 21:55:09
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการพัฒนากิจกรรมนักศึกษา (เบิกจ่ายจากงบพัฒนากิจกรรมนักศึกษา)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2566  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  20  คน
รายละเอียด  นักศึกษาและคณาจารย์สาขาวิชานวัตกรรมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง มหาวิทยาลัยแม่โจ้- ชุมพร จำนวน 20 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบพัฒนากิจกรรมนักศึกษา 2567 5,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พรพิมล  พิมลรัตน์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.1.9 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการ พัฒนาพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.1.9.5 ส่งเสริมกิจกรรมพัฒนานักศึกษานอกห้องเรียนที่ตอบโจทย์การเรียนรู้ระดับหลักสูตรและปรัชญาการศึกษาของมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.67 : 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.67 : 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.67 : 2.1.9 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลกด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ มจ.ชพ.67 : 19. ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และส่งเสริมอัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัยสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

Lifelong learning หรือ การเรียนรู้ตลอดชีวิต เป็นคำที่เราได้ยินกันบ่อย ๆ ในยุคปัจจุบันเนื่องจากเราอยู่ในยุคที่ทุกอย่างรอบตัวนั้นถูกเปลี่ยนแปลงและเคลื่อนที่ไปข้างหน้าแบบรวดเร็วอย่างที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน ความรู้เดิมที่เราเคยมีหรือสิ่งที่เราเคยทำมา อาจจะไม่สามารถนำพาเราไปข้างหน้าได้อีกต่อไป คนที่จะสามารถก้าวไปพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได้ จึงต้องเป็นคนที่มีนิสัยของการเรียนรู้ตลอดชีวิต ซึ่งทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 ที่ทุกคนจะต้องเรียนรู้ตลอดชีวิต คือ การเรียนรู้ 3R x 7C 3R คือ Reading (อ่านออก), (W)Riting (เขียนได้), และ (A) Rithemetics (คิดเลขเป็น) 7C ได้แก่ Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา) Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม) Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์) Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ) Communications, Information, and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ) Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร) Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้) สาขาวิชานวัตกรรมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง มหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ชุมพร มีการปรึกษาหารือเกี่ยวกับปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวข้องกับนักศึกษาในแต่ละชั้นปีของสาขาวิชาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง เพื่อหาแนวทางช่วยเหลือและแก้ไขปัญหาให้แก่นักศึกษาได้อย่างถูกต้อง ประกอบกับปัจจุบันรัฐบาลได้สนับสนุนให้ภาคการศึกษาพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาให้มีความพร้อมที่จะเข้าสู่การพัฒนานักศึกษาในศตวรรษที่ 21 และสามารถผลิตบัณฑิตให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานและระบบเศรษฐกิจดังกล่าว เพื่อให้สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาประเทศ ดังนั้นสาขาวิชาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง จึงส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเองเพื่อการพัฒนาทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ตามหลักการการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยดำเนินโครงการส่งเสริมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 นอกห้องเรียนเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาทักษะอาชีพด้วยตนเอง ผลที่ได้รับนอกจากประสบการณ์ ทักษะการเรียนรู้ ทักษะอาชีพด้านต่างๆ แล้วยังมีผลต่อตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร อีกทั้งยังสามารถบูรณาการกับการเรียนการสอนในหลายๆ วิชาของสาขาวิชาการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อพัฒนาศักยภาพนักศึกษา 5 ด้าน ได้แก่ คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ และทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ นำไปสู่ทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต
เพื่อพัฒนานักศึกษาในศตวรรษที่ 21 อันประกอบด้วย ICT literacy, scientific literacy, media literacy, health literacy, life skill, career skills
เพื่อให้นักศึกษาสาขานวัตกรรมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งได้ประยุกต์องค์ความรู้ที่ได้จากการเรียน เช่น รายวิชาคุณภาพน้ำ รายวิชามีนวิทยา รายวิชาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง รายวิชาเทคโนโลยีชีวภาพเบื้องต้นทางการประมง รายวิชาการปฏิบัติงานฟาร์มประมง 1 และ 2 และรายวิชาโรคและการวินิจฉัยโรคสัตว์น้ำเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันและนำไปใช้ประโยชน์เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : จำนวนบทคัดย่อและบทความที่ได้รับคัดเลือกให้ไปนำเสนอผลงานอย่างน้อย 2 เรื่อง
KPI 1 : จำนวนบทคัดย่อและบทความที่ได้รับคัดเลือกให้ไปนำเสนอผลงาน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 เรื่อง 2
KPI 2 : ร้อยละความพึงพอใจของจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
20 คน 20
KPI 4 : งบประมาณโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
5000 บาท 5000
KPI 5 : ร้อยละของนักศึกษาที่ได้รับความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : จำนวนบทคัดย่อและบทความที่ได้รับคัดเลือกให้ไปนำเสนอผลงานอย่างน้อย 2 เรื่อง
ชื่อกิจกรรม :
การศึกษาดูงานและนำเสนองานนอกห้องเรียนเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาทักษะอาชีพทางการประมงและการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรพิมล  พิมลรัตน์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กมลวรรณ  ศุภวิญญู (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ยุทธนา  สว่างอารมย์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์วีรชัย  เพชรสุทธิ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ณัชพัฒน์  สุขใส (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์นาตาลี อาร์  ใจเย็น (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ A4, ปากกา permanent ลวดเย็บกระดาษ ฯลฯ เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 5000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
งบประมาณดำเนินการน้อยเกินไป
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
สาขาวิชาหางบประมาณโครงการบริการวิชาการจากภายนอกนำมาบูรณาการร่วม
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
รายวิชาคุณภาพน้ำ รายวิชามีนวิทยา รายวิชาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง รายวิชาเทคโนโลยีชีวภาพเบื้องต้นทางการประมง รายวิชาการปฏิบัติงานฟาร์มประมง 1 และ 2 และรายวิชาโรคและการวินิจฉัยโรคสัตว์น้ำเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันและนำไปใช้ประโยชน์เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
ช่วงเวลา : 01/10/2566 - 30/09/2567
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ผลของโพรไบโอติกต่อการปรับปรุงคุณภาพน้ำระหว่างการเลี้ยงปลาชายฝั่ง
ช่วงเวลา : 01/10/2566 - 30/09/2567
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
การใช้สารสกัดน้ำมันเสม็ดขาวในการสลบปูม้าเพื่อการขนส่ง
ช่วงเวลา : 01/10/2566 - 30/09/2567
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล