21022 : โครงการพัฒนาชุมชนต้นแบบและส่งเสริมอาชีพสู่ความยั่งยืนทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม บนฐานคิด BCG Model เพื่อสนองงานตามพระราชดำริ ในพื้นที่อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
ดร.วีร์ พวงเพิกศึก (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
02/01/2567  ถึง  31/07/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  230  คน
รายละเอียด  - กลุ่มอาชีพเกษตรกรผู้มีความบกพร่องทางสายตา ตำบลสันมหาพน อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ และสมาชิกสมาคมสหภาพคนตาบอดจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 30 คน - ประชาชนและผู้ประกอบการในตำบลสบเปิง อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 100 คน - เกษตรกร เจ้าหน้าที่ภาครัฐ และประชาชนทั่วไป ในตำบลช่อแล อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 100 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะเศรษฐศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนงานบริการวิชาการแก่สังคม งานบริการวิชาการแก่ชุมชน กองทุนบริการวิชาการ งบเงินอุดหนุน หมวดเงินอุดหนุน หมวดเงินอุดหนุนทั่วไป 2567 330,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชนิตา  พันธุ์มณี
รองศาสตราจารย์ ดร. รภัสสรณ์  คงธนจารุอนันต์
ดร. วีร์  พวงเพิกศึก
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
รองศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร. สุรชัย  กังวล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะเศรษฐศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.3.2 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.3.2.1 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 65-69ECON 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69ECON2-4 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชน ด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับ
ตัวชี้วัด 65-69ECON2-4.9 จำนวนโครงการ/กิจกรรมบริการวิชาการที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจ BCG และ SDG
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-4.9.1 ส่งเสริม/สนับสนุนให้บุคลากรให้บริการวิชาการที่เกี่ยวข้องกับ BCG และ SDG
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ถือเป็นหนึ่งเขตการปกครองในระดับอำเภอที่มีศักยภาพด้านการเกษตร มีทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่มีลักษณะพิเศษ สามารถดึงดูดให้ชาวไทยและชาวต่างชาติได้เป็นอย่างดี มีสถานที่ท่องเที่ยที่หลากหลาย โดยอำเภอแม่แตงตั้งอยู่ในจุดยุทธศาสตร์ที่ดี ไม่ใกล้ไม่ไกลจากตัวจังหวัด ทำให้มีความน่าสนใจในการเดินทางท่องเที่ยวในพื้นที่ทั้งในรูปแบบเชิงธรรมชาติและเชิงวัฒนธรรม ที่สามารถนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมานำเสนอผ่านแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมได้อย่างน่าสนใจ รวมถึงเป็นที่ตั้งของศูนย์พัฒนาโครงการหลวงและโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริหลายแห่งในพื้นที่ และแม่แตงถือเป็นพื้นที่ที่มีแหล่งน้ำสำคัญของจังหวัดเชียงใหม่อยู่เป็นจำนวนมาก อย่างไรก็ตาม อำเภอแม่แตงประสบกับหลายปัญหา ทั้งภาวะซบเซาทางเศรษฐกิจที่ถูกซ้ำเติมด้วยการกลับมาของคนตกงาน ซึ่งแต่เดิมแม่แตงถือเป็นพื้นที่ที่มีภาวะพึ่งพิงสูง ทั้งในส่วนของคนพิการ และผู้สูงอายุอยู่แล้ว ทำให้ การแก้ปัญหาด้านเศษฐกิจทำได้ยากมากขึ้น จากการลงพื้นที่เพื่อสำรวจปัญหาและความต้องการในการแก้ปัญหาของชุมชน ใน 3 พื้นที่ ได้แก่ ตำบลสันมหาพน ตำบลสบเปิง และตำบลช่อแล อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ พบว่า ในตำบลสันมหาพน มีหมู่บ้านที่เป็นกลุ่มเปราะบาง (ผู้บกพร่องทางสายตาอันเกิดการพันธุกรรม) จากการปรึกษาหารือกับนายกสหภาพสมาคมคนตาบอดจังหวัดเชียงใหม่ (แม่แตง) ทำให้ได้ข้อมูลความต้องการพัฒนาและส่งเสริมอาชีพให้แก่กลุ่มเกษตรกรผู้มีความบกพร่องทางสายตาเพื่อให้สามารถพึ่งพาตนเองได้ โดยประกอบด้วย 1) วิธีการผลิตวัสดุปรับปรุงดินจากเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรเพื่อการเพาะปลูกข้าวไรซ์เบอรี่ในบ่อซีเมนต์ 2) เทคนิควิธีการปลูกข้าวไรซ์เบอรี่ในบ่อซีเมนต์และวิธีการจัดการโรคแมลงศัตรูพืช วิธีการจัดเก็บวัตถุดิบ ปัจจัยการผลิตอย่างถูกวิธี 3) วิธีการบริหารจัดการกลุ่ม และวิธีการจัดสรรผลประโยชน์แก่เกษตรกรผู้มีความบกพร่องทางสายตาเกษตรกรผู้ปลูกข้าวไรซ์เบอรี่สู่ความเข้มแข็งและยั่งยืน 4) วิธีการแปรรูปผลผลิตข้าวไรซ์เบอรี่ด้วยนวัตกรรมชุมชน คุณค่าทางโภชนาการที่ถูกสุขอนามัยเพื่อให้ได้รับการรับรองจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ในอนาคต และวิธีการออกแบบตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์เพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภคอย่างแท้จริง และ 5) เทคนิควิธีการสร้างโมเดลธุรกิจ (Business Model Canvas) เพื่อเพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขันทางการตลาดผลิตภัณฑ์แปรรูปข้าวไรซ์เบอรี่สู่การสร้างรายได้เชิงพาณิชย์ แนวทางการวางแผนด้านการใช้ทรัพยากรในพื้นที่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ได้แก่ ปัจจัยการผลิต ปัจจัยด้านการแปรรูป ปัจจัยด้านการตลาด ปัจจัยด้านการบุคลากรการบริหารจัดการกลุ่มผู้ประกอบธุรกิจชุมชน การวางแผนธุรกิจชุมชน รวมทั้งแนวทางการส่งเสริมพัฒนาด้านการตลาดบนแพลตฟอร์มออนไลน์และออฟไลน์ สำหรับพื้นที่ตำบลสบเปิง อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ จากการปรึกษาหารือกับนายกองค์การบริหารส่วนตำบลสบเปิง พบว่า ความต้องการหลักของพื้นที่คือการพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะปัญหาขยะมูลฝอยที่มีปริมาณเยอะและมีการกำจัดที่ไม่ถูกวิธี โดยที่ผ่านมาการบริหารจัดการขยะระดับหมู่บ้านทำโดยการฝังกลบและบางส่วนเผาในที่โล่ง ทำให้เกิดปัญหาขยะล้นบ่อ การทิ้งขยะข้ามเขตหมู่บ้าน และมีปัญหาการร้องเรียนเกี่ยวกับขยะเข้ามาอย่างต่อเนื่อง กอปรกับปัจจุบันการท่องเที่ยวเริ่มฟื้นตัว ซึ่งตำบลสบเปิงเป็นเส้นทางผ่านไปยังสถานที่ท่องเที่ยวต่าง ๆ อีกทั้งองค์การบริหารส่วนตำบลฯ มีแผนการเปิดเส้นทางการท่องเที่ยวใหม่ในพื้นที่ ดังนั้นหากไม่มีการวางแผนบริหารจัดการขยะในพื้นที่ให้มีประสิทธิภาพ อาจก่อให้เกิดปัญหาในอนาคตทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ ในส่วนของพื้นที่ตำบลช่อแล อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่นั้น พบว่าชุมชนมีความต้องการ 1) ยกระดับสินค้าชุมชนให้มีมาตรฐาน เพื่อสอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภค และต้องการให้มีแหล่งในการจัดจำหน่ายสินค้าทั้งแบบออนไลน์และออฟไลน์ 2) ต้องการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมชองชุมชน ให้เห็นที่รู้จักของประชาชนทั้งภายในและภายนอกท้องถิ่น และ 3) ต้องการพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยวของแต่ละพื้นที่ให้มีความเชื่อมโยงระหว่างกัน เพื่อการสร้างจุดเด่นด้านการท่องเที่ยวของแหล่งท่องเที่ยวในอำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ จากประเด็นปัญหาดังกล่าวในทั้งสามพื้นที่ นำไปสู่ประเด็นคำถามว่า รูปแบบของการบริการวิชาการที่ช่วยพัฒนาและส่งเสริมด้านการสร้างอาชีพและเพิ่มความสามารถในการพึ่งพาตนเอง การพัฒนาและแก้ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมในชุมชน รวมถึงการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและการท่องเที่ยวให้เกิดความยั่งยืนในอำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อสนองงานตามพระราชดำริ ควรมีลักษณะหรือมีรูปแบบอย่างไร ซึ่งแนวคิดที่ถูกหยิบยกมาพูดถึงกันอย่างกว้างขวางในช่วงที่ผ่านมา ที่มีความสอดคล้องทั้งหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและความยั่งยืน คือ BCG Model แนวคิด BCG Model เป็นแนวคิดที่ช่วยต่อยอดจุดแข็งของแต่ละพื้นที่ ให้เกิดมูลค่าในตัวเอง ทั้งในด้านความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางวัฒนธรรม ที่อาศัยเทคโนโลยี และนวัตกรรมเป็นตัวผลักดัน เพื่อผลิตสินค้าและบริการที่มีมูลค่าสูง เปลี่ยนจากระบบเศษฐกิจที่มุ่งเน้นการผลิตแบบ “ทำมากได้น้อย” ไปสู่ “การทำน้อยได้มาก” เกิดการกระจายรายได้ และสามารถนำความมั่งคั่งไปสู่ชุมชนในท้องถิ่นได้อย่างทั่วถึง นอกจากนี้ BCG Model ยังมีความสอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ที่ส่งเสริมการพัฒนาของชุมชนแบบไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง ที่นำไปสู่ความยั่งยืน โดยใช้ระบบเศษฐกิจ 3 แกนหลัก ประกอบด้วย 1) Bio Economy (B) ระบบเศรษฐกิจชีวภาพ ที่มุ่งเน้น 2) Circular Economy (C) ระบบเศรษฐกิจหมุนเวียน ที่ทั้ง 2 ระบบจะอยู่ภายใต้ 3) Green Economy (G) ระบบเศรษฐกิจสีเขียว ดังนั้น การนำแนวคิด BCG Model มาใช้ในการพัฒนาชุมชน จึงเป็นแนวทางสำคัญในการแก้ไขปัญหาชุมชนเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการสร้างความยั่งยืนให้เกิดขึ้น สำหรับคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นหน่วยงานที่มีองค์ความรู้ที่หลากหลายในด้านการบริหารจัดการโดยใช้แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ และแนวคิดด้านสิ่งแวดล้อมควบคู่ไปกับการดำเนินงาน คณะเศรษฐศาสตร์จึงมีความต้องการที่จะนำแนวคิด BCG Model มาช่วยในการแก้ไขปัญหาชุมชนของอำเภอแม่แตงอย่างเป็นระบบ โดยแก้ไขปัญหาตั้งแต่ต้นน้ำ (ด้านการผลิตทางการเกษตร) กลางน้ำ (ด้านการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร) และปลายน้ำ (ด้านตลาดชุมชนเชิงวัฒนธรรม และการท่องเที่ยวชุมชน) เพื่อให้เกิดความยั่งยืนของพื้นที่ต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อสร้างชุมชนต้นแบบด้านการสร้างอาชีพและการพึ่งพาตนเองของกลุ่มเปราะบาง (ผู้มีความบกพร่องทางสายตา) ในอำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อสนองงานตามพระราชดำริ
เพื่อสร้างชุมชนต้นแบบด้านการบริหารจัดการขยะมูลฝอยที่มีประสิทธิภาพ ยั่งยืน และสามารถสร้างมูลค่าในอำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อสนองงานตามพระราชดำริ
เพื่อสร้างชุมชนต้นแบบด้านเศรษฐกิจชุมชนและการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในอำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อสนองงานตามพระราชดำริ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : สร้างชุมชนต้นแบบด้านการสร้างอาชีพและการพึ่งพาตนเองของกลุ่มเปราะบาง (ผู้มีความบกพร่องทางสายตา) ในอำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อสนองงานตามพระราชดำริ
KPI 1 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 80 80 ร้อยละ 80
KPI 2 : จำนวนองค์ความรู้ ที่เกิดจากการดำเนินโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 1 1 องค์ความรู้ 3
KPI 3 : เครือข่ายความร่วมมือจำนวน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 เครือข่าย 2
KPI 4 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 100 100 ร้อยละ 100
KPI 5 : จำนวนผลผลิต / ต้นแบบผลิตภัณฑ์ ที่เกิดจากการดำเนินโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 2 2 ต้นแบบ 5
KPI 6 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 คน 30
ผลผลิต : สร้างชุมชนต้นแบบด้านการบริหารจัดการขยะมูลฝอยที่มีประสิทธิภาพ ยั่งยืน และสามารถสร้างมูลค่าในอำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อสนองงานตามพระราชดำริ
KPI 1 : ต้นแบบกลุ่มบริหารจัดการขยะมูลฝอยของชุมชน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 กลุ่ม 1
KPI 2 : ร้อยละของโครงการ/กิจกรรมที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 80 80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ระดับองค์ความรู้ด้านการบริหารจัดการขยะตามหลัก 3 R ที่เพิ่มขึ้น
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 80 ร้อยละ 80
KPI 4 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 40 30 คน 100
KPI 5 : ต้นแบบผลิตภัณฑ์แปรรูปจากขยะมูลฝอย
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ผลิตภัณฑ์ 1
KPI 6 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 80 80 ร้อยละ 80
KPI 7 : คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นจากการบริหารจัดการขยะที่มีประสิทธิภาพ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
ผลผลิต : สร้างชุมชนต้นแบบด้านเศรษฐกิจชุมชนและการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในอำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อสนองงานตามพระราชดำริ
KPI 1 : ร้อยละของความรู้ด้านการสื่อสารทางการตลาดผ่านระบบออนไลน์ที่เพิ่มขึ้นของคนในชุมชน
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 80 80 ร้อยละ 80
KPI 3 : เส้นทางการท่องเที่ยวของอำเภอแม่แตง
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 เส้นทาง 1
KPI 4 : ร้อยละของโครงการ/กิจกรรมที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 80 80 ร้อยละ 80
KPI 5 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 40 30 คน 100
KPI 6 : แหล่งจัดจำหน่ายสินค้าชุมชนในท้องถิ่น
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 แหล่ง 1
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : สร้างชุมชนต้นแบบด้านการสร้างอาชีพและการพึ่งพาตนเองของกลุ่มเปราะบาง (ผู้มีความบกพร่องทางสายตา) ในอำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อสนองงานตามพระราชดำริ
ชื่อกิจกรรม :
อบรมเชิงปฏิบัติการการผลิตวัสดุปรับปรุงดินจากเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร เทคนิคการปลูกข้าวไรซ์เบอรี่ในบ่อซีเมนต์และวิธีการจัดการโรคแมลงศัตรูพืช ภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/02/2567 - 31/07/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.รภัสสรณ์  คงธนจารุอนันต์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ว่าที่ร้อยตรีหญิง ดร.นัยนา  โปธาวงค์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มนตรี  สิงหะวาระ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คนๆ ละ 100 บาท 1 มื้อ 2 วัน เป็นเงิน 6,000บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 6,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คนๆ ละ 25 บาท 2 มื้อ 2 วัน เป็นเงิน 3,000 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถพร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง (จำนวน 1 คันๆละ 2,500 บาท 2 วัน เป็นเงิน 5,000 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรภาครัฐ) (ภาคบรรยาย จำนวน 3 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท 1 คน 2 วัน เป็นเงิน 3,600 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรภาครัฐ) (ภาคปฏิบัติ จำนวน 3 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท 2 คน 2 วัน เป็นเงิน 3,600 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ A4 กระดาษบรู๊ฟ เครื่องเขียน ฯลฯ เป็นเงิน 3,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกปรินส์เตอร์ แผ่น CD ฯลฯ เป็นเงิน 3,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร เช่น มูลสัตว์ ฯลฯ เป็นเงิน 4,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 4,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 31700.00
ชื่อกิจกรรม :
อบรมเชิงปฏิบัติการการสร้างโมเดลธุรกิจ (BMC) วิธีการออกแบบตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์เพื่อเพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขัน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/02/2567 - 31/07/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.รภัสสรณ์  คงธนจารุอนันต์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ว่าที่ร้อยตรีหญิง ดร.นัยนา  โปธาวงค์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มนตรี  สิงหะวาระ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คนๆ ละ 100 บาท 1 มื้อ 2 วัน เป็นเงิน 6,000บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คนๆ ละ 25 บาท 2 มื้อ 2 วัน เป็นเงิน 3,000 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถพร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง (จำนวน 1 คันๆละ 2,500 บาท 2 วัน เป็นเงิน 5,000 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาออกแบบบรรจุภัณฑ์และตราสินค้าแปรรูปข้าวไรซ์เบอรรี่ต้นแบบ (ชิ้นละ 66.50 บาท จำนวน 20 ชิ้น)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,330.00 บาท 0.00 บาท 1,330.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาสร้างแพลตฟอร์มออนไลน์ผลิตภัณฑ์แปรรูปข้าวไรซ์เบอรรี่ต้นแบบ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรภาครัฐ) (ภาคบรรยาย จำนวน 6 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท 1 คน 2 วัน เป็นเงิน 7,200 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกปรินส์เตอร์ แผ่น CD)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 6,970.00 บาท 0.00 บาท 6,970.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 44500.00
ชื่อกิจกรรม :
อบรมเชิงปฏิบัติการการบริหารจัดการกลุ่ม และวิธีการจัดสรรผลประโยชน์แก่เกษตรกรผู้มีความบกพร่องทางสายตาเกษตรกรผู้ปลูกข้าวไรซ์เบอรี่ในบ่อซีเมนต์สู่ความเข้มแข็งและยั่งยืน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/02/2567 - 31/07/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.รภัสสรณ์  คงธนจารุอนันต์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ว่าที่ร้อยตรีหญิง ดร.นัยนา  โปธาวงค์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มนตรี  สิงหะวาระ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คนๆ ละ 100 บาท 1 มื้อ 2 วัน เป็นเงิน 6,000บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คนๆ ละ 25 บาท 2 มื้อ 2 วัน เป็นเงิน 3,000 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถพร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง (จำนวน 1 คันๆละ 2,500 บาท 2 วัน เป็นเงิน 5,000 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำคู่มือการฝึกอบรม เรื่อง อบรมเชิงปฏิบัติการการบริหารจัดการกลุ่ม และวิธีการจัดสรรผลประโยชน์แก่เกษตรกรผู้มีความบกพร่องทางสายตาเกษตรกรผู้ปลูกข้าวไรซ์เบอรี่สู่ความเข้มแข็ง (ขนาด A4 สี (20 หน้า) จำนวน 30 เล่มๆ ละ 90 บาท เป็นเงิน 2,700 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,700.00 บาท 0.00 บาท 2,700.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (ที่มิใช่บุคลากรของรัฐ) (ภาคบรรยาย จำนวน 6 ชั่วโมงๆ ละ 1,200 บาท 1 คน 2 วัน เป็นเงิน 14,400 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 14,400.00 บาท 0.00 บาท 14,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าเอกสาร (5,400 แผ่น ๆ ละ 0.5 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,700.00 บาท 0.00 บาท 2,700.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 33800.00
ผลผลิต : สร้างชุมชนต้นแบบด้านการบริหารจัดการขยะมูลฝอยที่มีประสิทธิภาพ ยั่งยืน และสามารถสร้างมูลค่าในอำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อสนองงานตามพระราชดำริ
ชื่อกิจกรรม :
อบรมเชิงปฏิบัติการการคัดแยกขยะและการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน และในสถานประกอบการ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/02/2567 - 31/07/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชนิตา  พันธุ์มณี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
รองศาสตราจารย์ ดร.เกศสุดา  สิทธิสันติกุล (ผู้รับผิดชอบรอง)
รองศาสตราจารย์ ดร.นิศาชล  ลีรัตนากร (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.กันตพร  ช่วงชิด (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.กาญจนา  ชิดทอง (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 40 คนๆ ละ 100 บาท 1 มื้อ 3 วัน เป็นเงิน 12,000 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 12,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 12,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 40 คนๆ ละ 25 บาท 2 มื้อ 3 วัน เป็นเงิน 6,000 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 6,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถพร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง (จำนวน 1 คันๆละ 2,500 บาท 3 วัน เป็นเงิน 7,500 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 7,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรภาครัฐ) (ภาคบรรยาย จำนวน 3 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท 2 คน 3 วัน เป็นเงิน 10,800 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 10,800.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรภาครัฐ) (ภาคปฏิบัติ จำนวน 3 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท 2 คน 3 วัน เป็นเงิน 5,400 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 5,400.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ A4 กระดาษบรู๊ฟ เครื่องเขียน ฯลฯ เป็นเงิน 2,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 2,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกปรินส์เตอร์ แผ่น CD ฯลฯ เป็นเงิน 3,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เช่น ถังขยะ ถุงดำ ฯลฯ เป็นเงิน 4,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 4,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 50700.00
ชื่อกิจกรรม :
อบรมเชิงปฏิบัติการการใช้ประโยชน์และการสร้างมูลค่าเพิ่มจากขยะ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/02/2567 - 31/07/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชนิตา  พันธุ์มณี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
รองศาสตราจารย์ ดร.เกศสุดา  สิทธิสันติกุล (ผู้รับผิดชอบรอง)
รองศาสตราจารย์ ดร.นิศาชล  ลีรัตนากร (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.กันตพร  ช่วงชิด (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.กาญจนา  ชิดทอง (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คนๆ ละ 100 บาท 1 มื้อ 2 วัน เป็นเงิน 6,000 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 6,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คนๆ ละ 25 บาท 2 มื้อ 2 วัน เป็นเงิน 3,000 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถพร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง (จำนวน 1 คันๆละ 2,500 บาท 2 วัน เป็นเงิน 5,000 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรภาครัฐ) (ภาคบรรยาย จำนวน 3 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท 1 คน 2 วัน เป็นเงิน 3,600 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรภาครัฐ) (ภาคปฏิบัติ จำนวน 3 ชั่วโมงๆ ละ 300 บาท 1 คน 2 วัน เป็นเงิน 1,800 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 1,800.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ A4 กระดาษบรู๊ฟ เครื่องเขียน ฯลฯ เป็นเงิน 2,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 2,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เช่น ถังขยะ ถุงดำ ฯลฯ เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 26400.00
ชื่อกิจกรรม :
จัดตั้งกลุ่มต้นแบบในการบริหารจัดการขยะของตำบลสบเปิงแบบมีส่วนร่วม โดยการตั้งกฎเกณฑ์ร่วมกันของชุมชน (เปลี่ยนเป็นศูนย์เรียนรู้การจัดการขยะ ที่มีกิจกรรมภายในคือการขายขยะของชุมชน)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/02/2567 - 31/07/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชนิตา  พันธุ์มณี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
รองศาสตราจารย์ ดร.เกศสุดา  สิทธิสันติกุล (ผู้รับผิดชอบรอง)
รองศาสตราจารย์ ดร.นิศาชล  ลีรัตนากร (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.กันตพร  ช่วงชิด (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.กาญจนา  ชิดทอง (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คนๆ ละ 100 บาท 1 มื้อ 2 วัน เป็นเงิน 6,000 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คนๆ ละ 25 บาท 2 มื้อ 2 วัน เป็นเงิน 3,000 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถพร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง (จำนวน 1 คันๆละ 2,500 บาท 2 วัน เป็นเงิน 5,000 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (ที่มิใช่บุคลากรของรัฐ) (ภาคบรรยาย จำนวน 6 ชั่วโมงๆ ละ 1,200 บาท 1 คน 2 วัน เป็นเงิน 14,400 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 14,400.00 บาท 0.00 บาท 14,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ A4 กระดาษบรู๊ฟ เครื่องเขียน ฯลฯ เป็นเงิน 2,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,500.00 บาท 0.00 บาท 2,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เช่น ถังขยะ ถุงดำ ฯลฯ เป็นเงิน 2,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 32900.00
ผลผลิต : สร้างชุมชนต้นแบบด้านเศรษฐกิจชุมชนและการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในอำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อสนองงานตามพระราชดำริ
ชื่อกิจกรรม :
การอบรมความรู้การบริหารจัดการตลาดชุมชนที่มีมาตรฐานเพื่อการรองรับสินค้าชุมชน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/02/2567 - 31/07/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ดร.วีร์  พวงเพิกศึก (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.เบญจวรรณ  จันทร์แก้ว (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายยมนา  ปานันท์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คนๆ ละ 100 บาท 2 มื้อ เป็นเงิน 6,000 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 6,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คนๆ ละ 25 บาท 4 มื้อ เป็นเงิน 3,000 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถพร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง (จำนวน 1 คันๆละ 2,500 บาท 2 วัน เป็นเงิน 5,000 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรภาครัฐ) (ภาคบรรยาย จำนวน 6 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท 1 คน 2 วัน เป็นเงิน 7,200 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 7,200.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น ค่าถ่ายเอกสาร กระดาษ A4 ปากกา ฯลฯ เป็นเงิน 7,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 7,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกปรินส์เตอร์ ฯลฯ เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 33700.00
ชื่อกิจกรรม :
การพัฒนาการสื่อสารทางการตลาดของกลุ่มผู้ประกอบการในพื้นที่อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/02/2567 - 31/07/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ดร.วีร์  พวงเพิกศึก (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.เบญจวรรณ  จันทร์แก้ว (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายยมนา  ปานันท์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน
(ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คนๆ ละ 100 บาท 1 มื้อ เป็นเงิน 3,000บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 30 คนๆ ละ 25 บาท 2 มื้อ เป็นเงิน 1,500 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,500.00 บาท 0.00 บาท 1,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถพร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง (จำนวน 1 คันๆละ 2,500 บาท 1 วัน เป็นเงิน 2,500 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,500.00 บาท 0.00 บาท 2,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำสื่อมัลติมีเดีย เพื่อการโฆษณาผ่านระบบออนไลน์ (จำนวน 1 งาน เป็นเงิน 21,000 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 21,000.00 บาท 0.00 บาท 21,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรภาครัฐ)(ภาคบรรยาย จำนวน 6 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท 1 คน 1 วัน เป็นเงิน 3,600 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ A4 กระดาษบรู๊ฟ เครื่องเขียน ฯลฯ เป็นเงิน 12,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 12,200.00 บาท 0.00 บาท 12,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกปรินส์เตอร์ ฯลฯ เป็นเงิน 13,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 13,000.00 บาท 0.00 บาท 13,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 56800.00
ชื่อกิจกรรม :
การสร้างมูลค่าเพิ่มของแหล่งท่องเที่ยวชุมชนเพื่อการพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยวทางธรรมชาติและเชิงวัฒนธรรมของแหล่งท่องเที่ยวภายในอำเภอแม่แตง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/02/2567 - 31/07/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ดร.วีร์  พวงเพิกศึก (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.เบญจวรรณ  จันทร์แก้ว (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายยมนา  ปานันท์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 50 คนๆ ละ 100 บาท 1 มื้อ เป็นเงิน 5,000 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 50 คนๆ ละ 25 บาท 2 มื้อ เป็นเงิน 2,500 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,500.00 บาท 0.00 บาท 2,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถพร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง (จำนวน 1 คันๆละ 2,500 บาท 1 วัน เป็นเงิน 2,500 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,500.00 บาท 0.00 บาท 2,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรภาครัฐ)(ภาคบรรยาย จำนวน 6 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท 1 คน 1 วัน เป็นเงิน 3,600 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น ค่าถ่ายเอกสาร กระดาษ A4 ปากกา ฯลฯ เป็นเงิน 5,900 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 5,900.00 บาท 0.00 บาท 5,900.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 19500.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาโควิด-19 อาจยังส่งผลให้กลุ่มเป้าหมายมีความกังวลในการร่วมกลุ่ม
กลุ่มเป้าหมายขาดความรู้ความเข้าใจการผลิตที่มีคุณภาพตรงตามมาตรฐานความปลอดภัยที่สามารถตรวจสอบย้อนกลับในวัตถุดิบที่นำมาใช้ในการแปรรูปผลิตภัณฑ์รวมทั้งขาดความเข้าใจด้านโภชนาการ
การประชาสัมพันธ์ไม่ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายของโครงการ ผู้ได้รับข้อมูลข่าวสารการประชาสัมพันธ์ยังไม่เข้าใจถึงเป้าหมายรวมถึงประโยชน์ที่จะได้รับจากการเข้าร่วมโครงการ
ประชาชนกลุ่มเป้าหมายในชุมชนขาดประสบการณ์ในการรวมกลุ่ม เพื่อทำต้นแบบในการบริหารจัดการขยะของตำบลสบเปิงแบบมีส่วนร่วม
ประชาชนกลุ่มเป้าหมายในชุมชนขาดประสบการณ์ในการสร้างกฎเกณฑ์ร่วมกันของชุมชนในการจัดการขยะมูลฝอยอย่างมีประสิทธิภาพ
เนื้อหาในการบรรยายมีค่อนข้างมาก อาจทำให้ผู้เข้ารับการอบรมไม่เข้าใจ หรือได้รับเนื้อหาไม่ครบถ้วน
ประชาชนกลุ่มเป้าหมายในชุมชนขาดประสบการณ์ในการสื่อสารผ่านระบบออนไลน์
ไม่ได้รับความร่วมมือจากแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียง และเป็นที่รู้จักของนักท่องเที่ยวอยู่แล้ว
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ดำเนินการจัดกิจกรรมอบรมตามมาตรการการเฝ้าระวังของกระทรวงสาธารสุขอย่างเคร่งครัด
มีวิทยากรและผู้ช่วยวิยากรคอยติดตามการดำเนินการ รวมถึงค้นหาผู้แทนชุมชนที่มีความรู้ความสามารถ เพื่อเป็นผู้ช่วยวิทยากรในพื้นที่ คอยให้คำปรึกษาแก่ผู้เข้าร่วมการอบรมที่ยังขาดประสบการณ์
มีวิทยากรและผู้ช่วยวิทยากรคอยติดตามการดำเนินการ รวมถึงค้นหาผู้แทนชุมชนที่มีความรู้ความสามารถ เพื่อเป็นผู้ช่วยวิทยากรในพื้นที่ คอยให้คำปรึกษาแก่ผู้เข้าร่วมการอบรมที่ยังขาดประสบการณ์ ติดตามศึกษาดูงานในพื้นที่ที่ประสบความสำเร็จ
มีวิทยากรและผู้ช่วยวิทยากรให้คำแนะนำ สร้างความร่วมมือระหว่างองคืการบริหารส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน และประชาชน ในการดำเนินการร่วมกัน
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล