21016 : โครงการส่งเสริมและฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างมีส่วนร่วมชองชุมชน
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนศิษฏ์ วงศ์ศิริอำนวย (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 28/3/2567 16:42:14
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการในลักษณะโครงการ (Project base) เพื่อบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
08/11/2566  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  ไม่ระบุ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 2567 338,250.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธนศิษฏ์  วงศ์ศิริอำนวย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นำพร  ปัญโญใหญ่
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ทิพาพร  คำแดง
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.3.2 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.3.2.1 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 2.การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 2.3.1. EN67 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ ปรับปรุงนโยบายการสนับสนุนทุนด้านการบริการวิชาการโดยเน้นพื้นที่ที่กำหนด (Area Base) สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ต่างๆ เพื่อเสนอของบประมาณจากแหล่งทุนภายนอก
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ตามยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี ยุทธศาสตร์ที่ 5 ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ยุทธศาสตร์ที่ 5 ด้านการจัดการน้ำและสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม ทำให้มีพื้นที่เพาะปลูกจำนวนมาก ในแต่ละปีมีการปลูกข้าว ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ มันสำปะหลังและอ้อยเป็นจำนวนมาก เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตแล้ว จะเหลือทิ้งเศษวัสดุไว้ในแปลงปลูก เช่น ตอซังข้าว ต้นข้าวโพด ซังและเปลือกข้าวโพด ไว้เป็นจำนวนมาก โดยส่วนใหญ่จะใช้วิธีเผาในแปลงปลูก เป็นวิธีที่จัดการได้เร็ว และต้นทุนต่ำ ทำให้เกิดปัญหามลภาวะทางอากาศในช่วงเดือน มกราคม-มีนาคม ของทุกปี ปัญหาหมอกควันเป็นปัญหาหลักของประเทศโดยเฉพาะในเขตภาคเหนือตอนบนในช่วงฤดูแล้ง โดยมีสาเหตุหลักมาจากการเผาเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรในที่โล่ง ทำให้เกิดมลภาวะทางอากาศทั้งปริมาณฝุ่นละออง และก๊าซภาวะเรือนกระจก และก่อให้เกิดโรคต่างๆ ตามมา เช่น โรคตาอักเสบ โรคระบบทางเดินหายใจ โรคผิวหนังอักเสบ เป็นต้น อีกทั้งในชุมชนยังมีขยะมูลฝอย จากเศษวัดสุทางการเกษตร รวมถึงจากเศษอาหารจากการบริโภค รวมถึงเศษวัสดุจากพื้นที่สาธารณะของชุมชน จากแม่น้ำ ลำคลอง เช่นฝักตบชวา เป็นต้น ที่ไม่ได้นำไปใช้ประโยชน์และมักจะมีปัญหาในการจัดการของชุมชน ดังนั้นแนวทางการแก้ปัญหา สามารถนำยุทธศาสตร์ด้านการจัดการและเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่มิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ด้วยการบริหารจัดการเศษวัสดุที่เหลือใช้ทางการเกษตร เศษอาหาร รวมถึงขยะในชุมชนด้วยการนำมาใช้ประโยชน์ทางด้านพลังงานและเกษตร ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม อีกทั้งช่วยการลดภาวะโลกร้อนไปได้พร้อมกัน ด้วยการใช้เทคโนโลยีการจัดการที่เหมาะสมจากเศษวัสดุทางการเกษตร กิ่งไม้ ใบไม้ ที่ถูกเผาทิ้งในที่โล่งที่ก่อให้เกิดมลภาวะทางอากาศ เศษผัก ผลไม้ เศษอาหารที่เหลือจากการบริโภคของคนในชุมชน รวมถึงขยะในพื้นที่สาธารณะเช่นผักตบชวา มาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชน นอกจากช่วยลดปัญหาในการจัดการ ยังสามารถนำเทคโนโลยีและความมีส่วนร่วมนี้ช่วยลดรายจ่ายและเพิ่มรายได้ ให้กับคนในชุมชนได้อีกด้วย

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในการจัดการ จัดเก็บรวมถึงการบริหารจัดการ เศษวัสดุทางการเกษตร และวัชพืชอย่างเหมาะสม เพื่อช่วยลดการเผาเศษวัสดุเกษตรในที่โล่ง เพื่อลดปริมาณหมอกควันจากการเผา และมลภาวะทางอากาศและปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปลดปล่อยต่อสิ่งแวดล้อม
2. เพื่อส่งเสริมชุมชนเพื่อร่วมเป็นเครือข่าย ฟื้นฟูป่าอย่างมีส่วนร่วม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการ เศษวัสดุทางการเกษตร และวัชพืชโดยนำกลับมาใช้ประโยชน์ด้านพลังงานเช่นเป็น เชื้อเพลิงชีวมวลอัดก้อน ถ่านชีวภาพ เป็นต้น และใช้ประโยชน์ด้านเกษตรเช่น เป็นอาหารสัตว์ เป็นวัสดุปลูก และปุ๋ยอินทรีย์เป็นต้น ให้กับชุมชนอย่างเหมาะสม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : 1.ลดการเผาเศษวัสดุทางการเกษตรในที่โล่ง ทำให้คุณภาพอากาศอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน โดยนำเศษวัสดุทางการเกษตรกลับมาใช้ประโยชน์ มีปริมาณเพิ่มขึ้นร้อยละ 50
KPI 1 : สัดส่วนเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรได้รับการจัดการเพิ่มขึ้นร้อยละ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
25 25 50 50
ผลผลิต : 2.ได้เครือข่ายชุมชนที่มีส่วนร่วมต้นแบบในการฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในด้านการจัดการเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรและวัชพืช อย่างยั่งยืน โดยเป็นการนำกลับมาใช้ประโยชน์ด้านพลังงานและด้านการเกษตรที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
KPI 1 : ร้อยละของงานบริการวิชาการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
40 40 ร้อยละ 80
KPI 2 : ค่าใช้จ่ายตามงบประมาณที่ได้รับการจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
40 40 บาท 80
KPI 3 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
25 25 คน 50
KPI 4 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
40 40 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : 1.ลดการเผาเศษวัสดุทางการเกษตรในที่โล่ง ทำให้คุณภาพอากาศอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน โดยนำเศษวัสดุทางการเกษตรกลับมาใช้ประโยชน์ มีปริมาณเพิ่มขึ้นร้อยละ 50
ผลผลิต : 2.ได้เครือข่ายชุมชนที่มีส่วนร่วมต้นแบบในการฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในด้านการจัดการเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรและวัชพืช อย่างยั่งยืน โดยเป็นการนำกลับมาใช้ประโยชน์ด้านพลังงานและด้านการเกษตรที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมเตรียมความพร้อมและฝึกอบรม

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 06/12/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสารแผ่นพับ 3 บาท x 200 แผ่น = 600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำชุดฝึกอบรม การจัดการเศษวัสดุ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
96,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 96,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาบริการจัดทำชุดฝึกอบรมการแปรรูปชีวมวล
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
95,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 95,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน 50 คน x 100 บาท x 1 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
2,500.00 บาท 2,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 50 คน x 35 บาท x 2 ครั้ง = 3500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
1,750.00 บาท 1,750.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาบริการจัดทำเอกสารฝึกอบรม 70 บาท x 60 เล่ม = 4200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
4,200.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร 4 คน x 2 ชม x 600 บาท/ชม/คน x2 ครั้ง =9600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
4,800.00 บาท 4,800.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 9,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
31,250.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 31,250.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
30,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
34,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 34,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุไฟฟ้า
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
22,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 22,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
6,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 338250.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
คนในชุมชนติดภารกิจงานประจำ
การนำไปใช้ประโยชน์ของชุมชน
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ประชาสัมพันธ์ล่วงหน้าและจัดการฝึกอบรม
งานบริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ถ่านชีวภาพ ไบโอชาร์ การจัดการวัดสุ
ช่วงเวลา : 02/10/2566 - 30/09/2567
ตัวชี้วัด
5.2 กระบวนการบริการทางวิชาการให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
การผลิตถ่านชีวภาพ
ช่วงเวลา : 01/12/2566 - 30/09/2567
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล