21008 : ฐานเรียนรู้การปลูกกัญชาทางการแพทย์และการผลิตปุ๋ยอินทรีย์จากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรและขยะอินทรีย์ชุมชนในระดับอุตสาหกรรม
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
ศาสตราจารย์ ดร.อานัฐ ตันโช (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 4/1/2567 13:24:51
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
28/11/2566  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  1500  คน
รายละเอียด  ประกอบด้วย 1) กลุ่มนักเรียน นักศึกษา นักวิจัย นักวิชาการ 2) กลุ่มเกษตรกร 3) หน่วยงานราชการ หน่วยงานภาคธุรกิจ 4) ผู้สนใจทั่วไป
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน ศูนย์วิจัยและพัฒนาเกษตรธรรมชาติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณโครงการบริการวิชาการประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2567 2567 300,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ศาสตราจารย์ ดร. อานัฐ  ตันโช
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
ศูนย์วิจัยและพัฒนาเกษตรธรรมชาติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.3.1.2 ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ขยะอินทรีย์ ประกอบด้วยขยะที่เป็นของแห้ง เช่น ใบไม้ หญ้า กิ่งไม้ และขยะสดที่ได้จากกระบวนการประกอบอาหารและแปรรูปผลผลิตเกษตรจากโรงงานต่าง ๆ ในส่วนของขยะอินทรีย์แห้งมักนำไปใช้ในการผลิตปุ๋ยหมักและไม่เป็นปัญหาก่อมลพิษต่อสิ่งแวดล้อมหรือชุมชนเว้นแต่จะมีการเผาทำลายก่อมลพิษทางอากาศ แต่ในส่วนของขยะอินทรีย์ที่เป็นขยะสด ที่เก็บได้จากตลาดสด หรือเศษอาหารเหลือจากครัวเรือน รวมถึงเศษผักสด ผลไม้กระป๋องจากการแปรรูปผลผลิตในโรงงานต่างๆ มักเป็นปัญหาในทุกพื้นที่ที่มีสังคมเมืองตั้งอยู่ และเป็นปัญหาของการเก็บกำจัดของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แต่ขยะสดนั้นเป็นส่วนที่มีคุณค่าสารอาหารสูงเหมาะสำหรับนำเลี้ยงสัตว์ และผลิตเป็นปุ๋ยอินทรีย์ชนิดต่างๆ เช่น การใช้ไส้เดือนดินกำจัดขยะอินทรีย์ชุมชน กำจัดขยะสดเป็นโครงการที่ผ่านการวิจัยแล้วและสร้างโรงเรือนเลี้ยงในระดับพาณิชย์เป็นผลสำเร็จ ศูนย์วิจัยและพัฒนาเกษตรธรรมชาติ เป็นหน่วยงานที่ดำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการบริหารจัดการขยะอินทรีย์ จึงสามารถถ่ายทอดองค์เรียนรู้การผลิตปุ๋ยอินทรีย์จากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรและขยะอินทรีย์ชุมชนในระดับอุตสาหกรรม จะเป็นต้นแบบการจัดการขยะและวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรในพื้นที่เทศบาลเมือง องค์การบริหารส่วนตำบล และเกษตรกรที่ทำเกษตรอินทรีย์รายใหญ่ นอกจากนี้จะเป็นสถานที่ศึกษาดูงานของชุมชนเกษตรอินทรีย์ หรือผู้ประกอบการอื่นๆ ทั่วประเทศ เพื่อเผยแพร่เทคโนโลยีไปใช้บริหารจัดการขยะอินทรีย์ต่อไป เปลี่ยนเป็นปุ๋ยอินทรีย์เพื่อเป็นปัจจัยในการผลิตด้านธาตุอาหารพืชต่อไป และสืบเนื่องจากจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้ลงนามความร่วมมือ วิจัยและพัฒนาสายพันธุ์กัญชาและกัญชงเพื่อใช้ประโยชน์ทางการแพทย์กับกรมการแพทย์ และองค์การเภสัชกรรม เพื่อปลูกกัญชาระบบเกษตรอินทรีย์ภายใต้โครงการปลูกและสกัดพืชกัญชาสำหรับการผลิตตำรับยารักษาโรคกรณีจำเป็นสำหรับผู้ป่วยเฉพาะราย(Special Access Scheme, SAS) 5,000,000 ซีซี เพื่อผู้ป่วย 4 กลุ่มโรค โดยความร่วมมือในครั้งนี้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยศูนย์วิจัยและพัฒนาเกษตรธรรมชาติ ได้ดำเนินโครงการผลิตช่อดอกกัญชาแห้งจากระบบผลิตกัญชาไทยคุณภาพสูงเพื่อประโยชน์ทางการแพทย์ ได้รับอนุญาตให้ดำเนินการปลูกกัญชาระยะแรกในปี 2562 ภายใต้โครงการจำนวน 12,000 ต้น โดยสายพันธุ์ที่ปลูกเป็นกัญชาสายพันธุ์ไทย “อิสระ 01” ซึ่งจากการดำเนินงานทำให้เกิด เทคนิค การจัดการระบบการปลูก ตลอดจนองค์ความรู้ต่างๆที่เกี่ยวข้องในกระบวนการปลูกพืชกัญชาระบบอินทรีย์เพื่อใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยศูนย์วิจัยและพัฒนาเกษตรธรรมชาติ มีองค์ความรู้ บุคคลากรที่มีประสบการณ์และความพร้อมในการดำเนินการให้คำปรึกษา ถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคนิคการบริหารจัดการระบบการปลูกพืชกัญชาระบบอินทรีย์นำไปสู่การผลิตช่อดอกกัญชาแห้งเพื่อใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ มีความสามารถผลิตเพื่อจำหน่ายแก่หน่วยงานที่ต้องการนำผลผลิตจากพืชกัญชาไปใช้ประโยชน์ได้ภายใต้ข้อบังคับตามกฎหมายอีกด้วย

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อเป็นแหล่งบริการวิชาการ ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตปุ๋ยอินทรีย์จากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรและขยะอินทรีย์ชุมชนในระดับอุตสาหกรรม และถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตกัญชาทางการแพทย์ในระดับอุตสาหกรรม ให้กับนักศึกษา เกษตรกร หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน และผู้ที่สนใจทั่วไป
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ศูนย์วิจัยและพัฒนาเกษตรธรรมชาติ
KPI 1 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 2 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 3 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.3 ล้านบาท 0.3
KPI 4 : ร้อยละของผู้เข้ารับริการมีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : จำนวนผู้เข้าเยี่ยมชมฐานเรียนรู้ และรับบริการวิชาการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 450 450 500 คน 1500
KPI 6 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กร ที่รับบริการวิชาการ และวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 7 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ศูนย์วิจัยและพัฒนาเกษตรธรรมชาติ
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 : ฐานเรียนรู้ผลิตปุ๋ยอินทรีย์จากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรและขยะอินทรีย์ชุมชน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 28/11/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ศาสตราจารย์ ดร.อานัฐ  ตันโช (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำแผ่นพับองค์ความรู้ ขนาด เอ 4 (2 หน้า) จำนวน 1,000 แผ่นๆ ละ 3 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำ X-stand ขนาด 180X80 cm. จำนวน 1 ชุดๆ ละ 12,000 บาท เป็นเงิน 12,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 12,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 12,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร เช่น ถุงมือยาง,มูลวัว,กากเห็ด ฯลฯ เป็นเงิน 65,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 35,000.00 บาท 30,000.00 บาท 0.00 บาท 65,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกพิมพ์ ,หมึกถ่ายเอกสาร ฯลฯ เป็นเงิน 10,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ, แฟ้ม ฯลฯ เป็นเงิน 10,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 10,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 100000.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 2 : ฐานเรียนรู้การผลิตกัญชาทางการแพทย์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 28/11/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ศาสตราจารย์ ดร.อานัฐ  ตันโช (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำแผ่นพับองค์ความรู้ ขนาด เอ 4 (2 หน้า) จำนวน 1,000 แผ่นๆ ละ 3 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำ X-stand ขนาด 180X80 cm. จำนวน 1 ชุดๆ ละ 12,000 บาท เป็นเงิน 12,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 12,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 12,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร เช่น สแลนสีดำ, ถุงมือยาง,วัสดุเพาะกล้า ฯลฯ เป็นเงิน 60,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 30,000.00 บาท 30,000.00 บาท 0.00 บาท 60,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ, แฟ้ม ฯลฯ เป็นเงิน 10,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 10,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุงานบ้านงานครัว เช่น กล่องถนอนมอาหาร ฟ็อกกี้ ทิชชู่ ฯลฯ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 15,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 15,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 100000.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 3 : ฐานเรียนรู้การเลี้ยงไส้เดือนดินกำจัดขยะอินทรีย์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 28/11/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ศาสตราจารย์ ดร.อานัฐ  ตันโช (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำแผ่นพับองค์ความรู้ ขนาด เอ 4 (2 หน้า) จำนวน 1,000 แผ่นๆ ละ 3 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำ X-stand ขนาด 180X80 cm. จำนวน 1 ชุดๆ ละ 12,000 บาท เป็นเงิน 12,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 12,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 12,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ, แฟ้ม ฯลฯ เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร เช่น ถุงมือยาง, มูลวัว, ดินดำ ฯลฯ เป็นเงิน 60,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 30,000.00 บาท 30,000.00 บาท 0.00 บาท 60,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกพิมพ์ ,หมึกถ่ายเอกสาร ฯลฯ เป็นเงิน 20,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 20,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 100000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
รายการเอกสารประกอบ
mjumju1 บก67-02 อ อานัฐ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล