21005 : โครงการแปรรูปและการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารต้นแบบ
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
น.ส.ปวริศา ศรีสง่า (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
29/11/2566  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  120  คน
รายละเอียด  เกษตรกร วิสาหกิจชุมชน บริษัท นักเรียน นักศึกษา เจ้าหน้าที่ราชการ และผู้ที่สนใจ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 2567 330,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นำพร  ปัญโญใหญ่
น.ส. ปวริศา  ศรีสง่า
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.3.1.2 ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 2.การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 2.3.1. EN67 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ ปรับปรุงนโยบายการสนับสนุนทุนด้านการบริการวิชาการโดยเน้นพื้นที่ที่กำหนด (Area Base) สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ต่างๆ เพื่อเสนอของบประมาณจากแหล่งทุนภายนอก
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ในปัจจุบันนโยบายด้านเศรษฐกิจของประเทศได้เร่งรัดพัฒนาธุรกิจการเกษตร โดยการพัฒนาสถาบันเกษตรกรในด้านธุรกิจ สร้างเกษตรรุ่นใหม่จากโครงการกองทุนตั้งตัวได้ ร่วมมือ สนับสนุนสถาบันการศึกษาเพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการเกษตรทุกสาขา และดำเนินการให้บุคลากรของสถาบันการศึกษาได้ทำหน้าที่สนับสนุนการส่งเสริมการเกษตร พัฒนารูปแบบการจัดการผลิต การบรรจุภัณฑ์และพัฒนาผลิตภัณฑ์และการตรวจสอบย้อนกลับแหล่งผลิต เร่งรัดการพัฒนาอุตสาหกรรม อีกทั้งยังส่งเสริมการผลิตสินค้าใหม่ที่ให้ผลตอบแทนสูง โดยมีเป้าหมายเพิ่มมูลค่าภาคการเกษตรต่อผลผลิตมวลรวมของประเทศอย่างต่อเนื่อง ภาคอุตสาหกรรมได้พัฒนาและส่งเสริมอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปบนฐานความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ ภูมิปัญญาท้องถิ่นและนวัตกรรมเพื่อเพิ่มมูลค่าและยกระดับสินค้าให้มีคุณภาพ มีความปลอดภัยตามมาตรฐานสากลและมีโอกาสในการขยายตลาด เพื่อเพิ่มรายได้ให้แก่เกษตรกร นอกจากคุณภาพผลิตภัณฑ์ที่ผู้บริโภคใช้ตัดสินใจในการยอมรับและบริโภคสินค้า องค์ประกอบสำคัญที่มีผลกระทบโดยตรงต่อคุณภาพผลิตภัณฑ์ ได้แก่ วัตถุดิบ กระบวนการแปรรูป อุปกรณ์เครื่องมือที่ใช้ ในการแปรรูป ผู้ปฏิบัติงาน การบริหารจัดการเงินทุนที่ใช้ในการประกอบการ การเลือกใช้บรรจุภัณฑ์ที่มีความปลอดภัย เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสามารถรักษาคุณภาพผลิตภัณฑ์ให้คงที่ก่อนถึงมือผู้บริโภค คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นหน่วยงานที่มีภารกิจเกี่ยวกับวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร โดยมีโรงงานนำร่อง (Pilot Plant) ด้านการแปรรูปและการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารต้นแบบของผลผลิตทางการเกษตร ได้แก่ พืช ผักผลไม้ สมุนไพร สัตว์ และประมง เป็นต้น และเป็นแหล่งฝึกอบรมให้กับกลุ่มผู้สนใจ กลุ่มชุมชน และกลุ่มเกษตรกร มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักและสามารถบริหารจัดการการแปรรูปผลผลิตเกษตร เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการแปรรูปผลผลิตเกษตร เพื่อยกระดับสินค้าชุมชนให้สามารถเข้าสู่ตลาด และการแข่งขันได้ สืบเนื่องจาก ในปี พ.ศ. 2564-2565 อำเภอสันทรายและอำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ทางคณะวิศวกรรม ได้เคยเข้าไปช่วยในพื้นที่ดังกล่างในโครงการการยกระดับรายได้และคุณภาพชีวิตเกษตรและชุมชนด้วยองค์ความรู้และนวัตกรรมบริการ ภายใต้แผนงาน การสร้างธุรกิจเพื่อสร้างเศรษฐกิจฐานรากรองรับการเปลี่ยนแปลงและวิกฤตด้านเศรษฐกิจและแก้ไขปัญหาความยากจน และโครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ(1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย) มหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยทางกลุ่มเกษตรกรผู้สร้างผลผลิตผักปลอดภัยและผักอินทรีย์ในชุมชนโดยมีความตั้งใจอย่างมุ่งมั่นที่จะผลิตผลผลิตทางการเกษตรที่มีคุณภาพสูง และกลุ่มแปรรูปอาหารมีการนำเทคโนโลยี และนวัตกรรม จากองค์ความรู้ในสถานศึกษามาต่อยอดเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มมูลค่า

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม มีความรู้ด้านการแปรรูปและการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารต้นแบบของผลผลิตทางการเกษตร
เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ได้รับความรู้และเพิ่มทักษะทางวิชาการ และวิชาชีพ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผู้เข้าอบรมได้รับความรู้สามารถทำการแปรรูปและการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารต้นแบบของผลผลิตทางการเกษตร
KPI 1 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 2 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
120 คน 120
KPI 3 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.33 ล้านบาท 0.33
KPI 4 : จำนวนผลผลิต / ต้นแบบผลิตภัณฑ์ ที่เกิดจากการดำเนินโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
4 ผลิตภัณฑ์ 4
KPI 5 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 7 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผู้เข้าอบรมได้รับความรู้สามารถทำการแปรรูปและการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารต้นแบบของผลผลิตทางการเกษตร
ชื่อกิจกรรม :
การเตรียมความพร้อมการฝึกอบรม การประชาสัมพันธ์และติดต่อประสานงานการบริการวิชาการ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 29/11/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นำพร  ปัญโญใหญ่ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.ปวริศา  ศรีสง่า (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ คลิปหนีบ แฟ้ม ปากกา
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 25,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 25,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกปริ้นเตอร์ เม้าส์ คีย์บอร์ด ซอฟแวร์สแกน ฯลฯ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 87,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 87,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าถ่ายเอกสาร
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 1,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 114000.00
ชื่อกิจกรรม :
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชาจากพืช ผลไม้ และสมุนไพร

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 29/11/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.จิตราพร  งามพีระพงศ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กนกวรรณ  ตาลดี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 30 คน ๆ จำนวน 1 มื้อ มื้อละ 150 บาท 1 วัน = 4,500 บาท
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 30 คน ๆ จำนวน 2 มื้อ มื้อละ 35 บาท จำนวน 1 วัน = 2,100 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 6,600.00 บาท 0.00 บาท 6,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย จำนวน 2 คน คนละ 2 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท จำนวน 1 วัน = 2,400 บาท
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคปฏิบัติ จำนวน 2 คน คนละ 4 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท จำนวน 1 วัน = 2,400 บาท
ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 2 คน คนละ 200 บาท จำนวน 2 วัน = 800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 5,600.00 บาท 0.00 บาท 5,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุงานบ้านงานครัว เช่น บรรจุภัณฑ์ แผ่นอบขนม ถุงพลาสติก ผ้าขาวบาง ถาด สแตนเลส ฯลฯ = 27,800 บาท
ผลไม้ เช่น สับปะรด มะม่วง ลำไย และสมุนไพร เช่น หญ้าหวาน กระชาย จิงจูฉ่าย ตะไคร้ ฯลฯ = 4,000 บาท
วัสดุวิทยาศาสตร์ เช่น ถุงมือวิทยาศาสตร์ แคลเซียมคลอไรด์ กรดซิตริก โซเดียมไฮดรอกไซด์ โพแทสเซียมเมตาไบซัลไฟด์ ฯลฯ = 10,000 บาท


ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 41,800.00 บาท 0.00 บาท 41,800.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 54000.00
ชื่อกิจกรรม :
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ผักและผลไม้กรอบ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 29/11/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นักรบ  นาคประสม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายสุมิตร  เชื่อมชัยตระกูล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 30 คน ๆ จำนวน 1 มื้อ มื้อละ 150 บาท 1 วัน = 4,500 บาท
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 30 คน ๆ จำนวน 2 มื้อ มื้อละ 35 บาท จำนวน 1 วัน = 2,100 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 6,600.00 บาท 0.00 บาท 6,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย จำนวน 2 คน คนละ 2 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท จำนวน 1 วัน = 2,400 บาท
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคปฏิบัติ จำนวน 2 คน คนละ 4 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท จำนวน 1 วัน = 2,400 บาท
ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 2 คน คนละ 200 บาท จำนวน 2 วัน = 800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 5,600.00 บาท 0.00 บาท 5,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุงานบ้านงานครัว เช่น บรรจุภัณฑ์ แผ่นอบขนม ถุงพลาสติก ผ้าขาวบาง ถาด สแตนเลส ฯลฯ = 27,800 บาท
ผลไม้ เช่น สับปะรด มะม่วง ลำไย = 4,000 บาท
วัสดุวิทยาศาสตร์ เช่น ถุงมือวิทยาศาสตร์ แคลเซียมคลอไรด์ กรดซิตริก โซเดียมไฮดรอกไซด์ โพแทสเซียมเมตาไบซัลไฟด์ ฯลฯ = 10,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 41,800.00 บาท 0.00 บาท 41,800.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 54000.00
ชื่อกิจกรรม :
การจัดการหลังการเก็บเกี่ยวและเพิ่มมูลค่าดอกไม้กินได้

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 29/11/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.พฤกษ์  ชูสังข์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ธิดารัตน์  แก้วคำ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 30 คน ๆ จำนวน 1 มื้อ มื้อละ 150 บาท 1 วัน = 4,500 บาท
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 30 คน ๆ จำนวน 2 มื้อ มื้อละ 35 บาท จำนวน 1 วัน = 2,100 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 6,600.00 บาท 0.00 บาท 6,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย จำนวน 2 คน คนละ 2 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท จำนวน 1 วัน = 2,400 บาท
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคปฏิบัติ จำนวน 2 คน คนละ 4 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท จำนวน 1 วัน = 2,400 บาท
ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 2 คน คนละ 200 บาท จำนวน 2 วัน = 800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 5,600.00 บาท 0.00 บาท 5,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุงานบ้านงานครัว เช่น บรรจุภัณฑ์ แผ่นอบขนม ถุงพลาสติก ผ้าขาวบาง ถาด สแตนเลส ฯลฯ = 27,800 บาท
ดอกไม้ = 4,000 บาท
วัสดุวิทยาศาสตร์ เช่น ถุงมือวิทยาศาสตร์ แคลเซียมคลอไรด์ กรดซิตริก โซเดียมไฮดรอกไซด์ โพแทสเซียมเมตาไบซัลไฟด์ ฯลฯ = 10,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 41,800.00 บาท 0.00 บาท 41,800.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 54000.00
ชื่อกิจกรรม :
การพัฒนากระบวนการผลิตผักผลไม้สดพร้อมบริโภคอย่างปลอดภัยและมีมาตรฐาน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 29/11/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ดวงใจ  น้อยวัน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.แพรวพรรณ  จอมงาม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 30 คน ๆ จำนวน 1 มื้อ มื้อละ 150 บาท 1 วัน = 4,500 บาท
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 30 คน ๆ จำนวน 2 มื้อ มื้อละ 35 บาท จำนวน 1 วัน = 2,100 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 6,600.00 บาท 0.00 บาท 6,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย จำนวน 2 คน คนละ 2 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท จำนวน 1 วัน = 2,400 บาท
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคปฏิบัติ จำนวน 2 คน คนละ 4 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท จำนวน 1 วัน = 2,400 บาท
ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 2 คน คนละ 200 บาท จำนวน 2 วัน = 800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 5,600.00 บาท 0.00 บาท 5,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุงานบ้านงานครัว เช่น บรรจุภัณฑ์ แผ่นอบขนม ถุงพลาสติก ผ้าขาวบาง ถาด สแตนเลส ฯลฯ = 27,800 บาท
ผักและผลไม้ เช่น แอปเปิ้ล สับปะรด แครอท ผัดสลัด = 4,000 บาท
วัสดุวิทยาศาสตร์ เช่น ถุงมือวิทยาศาสตร์ แคลเซียมคลอไรด์ กรดซิตริก ฯลฯ = 10,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 41,800.00 บาท 0.00 บาท 41,800.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 54000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล