20986 : โครงการการใช้เทคโนโลยีพัฒนาเศษพืชเหลือใช้ในท้องถิ่นให้มีมูลค่า สำหรับเป็นวัสดุปลูกสูตรปลูกพืชผักและไม้ดอกไม้ประดับเพื่อสร้างอาชีพเสริมให้ชุมชนอย่างยั่งยืน
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
อาจารย์ ดร.แสงเดือน อินชนบท (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/02/2567  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  20  คน
รายละเอียด  กลุ่มเกษตรกรและประชาชนในเขตตำบลป่าไผ่ อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 2567 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. แสงเดือน  อินชนบท
อาจารย์ ดร. สุเทพ  วัชรเวชศฤงคาร
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 1.2 ความสำเร็จของการเป็นมหาวิทยาลัยแห่งชีวิต (GO. Eco U.)
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 1.2.1 ความสำเร็จของยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์ (Organic University)
กลยุทธ์ 67-70 MJU 1.2.1.1 กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่มหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์ที่ชัดเจน และขับเคลื่อนกิจกรรม รวมทั้งติดตามประเมินผลอย่างเป็นระบบ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67 AP 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
เป้าประสงค์ 67 AP 1.1 ความสำเร็จของการขับเคลื่อนการดำเนินงานตามนโยบายสภามหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัด 67 AP 1.1.1 ร้อยละความสำเร็จของการขับเคลื่อนการดำเนินงานตามนโยบายสภามหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 67 AP 1.1.1.1 ขับเคลื่อนการดำเนินงานตามนโยบายสภามหาวิทยาลัยด้านดิจิทัล และขับเคลื่อนการนำดิจิทัลเทคโนโลยีมาช่วยงานบริการเพื่อประสิทธิภาพการทำงาน (Digital Service)
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ประเทศไทยเป็นเมืองเกษตรกรรมมีการปลูกพืชเลี้ยงสัตว์เป็นอาชีพหลัก โดยเฉพาะการปลูกพืชซึ่งมีทั้งพืชไร่ พืชสวนได้แก่ไม้ดอกไม้ประดับ ไม้ผล พืชผัก มีพรรณไม้ต่างๆมากมาย โดยมีอยู่ในทั่วทุกภาคของประเทศและสิ่งที่หลงเหลือจากการทำเกษตรหรือเศษใบพืชต่างๆที่ร่วงหล่นมาพื้นที่ดินในชุมชนมีอยู่เป็นจำนวนมาก ที่ผ่านมาเกษตรกรหรือชุมชนต่าง ๆ มีวิธีการกำจัดเศษซากพืชดังที่กล่าวมาข้างต้นด้วยวิธีการปล่อยให้ผุสลายไปกลายเป็นปุ๋ยด้วยธรรมชาติหรืออาจใช้วิธีการเผาเป็นส่วนมาก ซึ่งเมื่อสมัยก่อนการเผาอาจมีจำนวนไม่มากนักจึงทำให้เกิดมลพิษทางอากาศเพียงเล็กๆน้อยๆไม่นานก็เข้าสู่สภาพปกติ แต่ปัจจุบันประชากรในแต่ละพื้นที่ทั่วโลกเพิ่มมากขึ้น ทำให้พื้นที่ทำการเกษตรลดจำนวนลงเพื่อนำไปใช้เป็นที่อยู่อาศัยของประชาการ ทำให้พื้นที่ในการทำการเกษตรถูกลดจำนวนลง ซึ่งสวนทางกับความต้องการบริโภคของประชาการที่เพิ่มขึ้น จึงทำให้เศษซากพืชที่เหลือจากการเก็บเกี่ยวหรือใบไม้ที่ร่วงหล่นลงมาถูกรีบกำจัดด้วยการเผาเพื่อความเร่งรีบในการใช้พื้นที่เพาะปลูกให้ได้มากที่สุดในแต่ละช่วงของการปลูก เนื่องจากต้องผลิตให้ได้มากเพื่อเพียงพอกับความต้องการของผู้บริโภคนั่นเอง แต่ปัญหาจากการเผาปัจจุบันมีความรุ่นแรงเพิ่มขึ้นดังเห็นได้จากข่าวสารข้อมูลที่มีปรากฏอย่างมากมายตามสื่อต่างๆถึงผลกระทบที่ได้รับจากจาก PM2.5 ซึ่งทำให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมโดยตรง ส่งผลกระทบต่อมวลมนุษยชาติต่างๆมากมายทำให้กระทบต่อการดำเนินชีวิต เนื่องจากมีผลต่อสุขภาพทำให้ต้องสูญเสียค่าใช้จ่ายด้านการดูแลสุขภาพและทำให้ประเทศไทยต้องสูญเสียเงินด้านสาธารณสุขต่อปีเพิ่มขึ้น เพราะประชาการได้รับผลกระทบจากการเผาเศษซากพืชโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์กับผลเสียที่เกิดขึ้นดังกล่าว ดังนั้นทางคณะผู้จัดทำโครงการจึงเล็งเห็นความสำคัญของการลดการเผาเศษซากพืชทั่วไปและจากภาคเกษตรกรรม โดยปัจจุบันมีเทคโนโลยีการนำเศษซากพืชมาพัฒนาเป็นปุ๋ยหมักคุณภาพด้วยวิธีเติมอากาศและไม่กลบกอง ซึ่งสามารถเปลี่ยนเศษซากพืชที่ไม่มีค่าให้มีคุณค่าและมูลค่าขึ้นมา นอกจากนี้ทางคณาจารย์ของโครงการยังได้มีการนำผลงานการวิจัยที่ประสบผลสำเร็จด้านการพัฒนาวัสดุปลูกพืชผักและไม้ดอกไม้ประดับจากปุ๋ยหมักมาประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการปรับเป็นสูตรที่เหมาะสำหรับเป็นวัสดุปลูกที่มีความเฉพาะในแต่ละพืชมากยิ่งขึ้น ซึ่งองค์ความรู้ดังกล่าวทางคณะผู้วิจัยจึงมีความร่วมมือแบบบูรณาการระหว่างคณาจารย์ระหว่างคณะต่างๆเพื่อให้องค์ความรู้จากทางมหาวิทยาลัยลงไปสู่ชุมชุน ช่วยลดการเผา ทำให้สิ่งแวดล้อมน่าอยู่ และผลผลิตที่ได้สามารถสร้างเป็นผลิตภัณฑ์ให้กับครอบครัวและชุมชนซึ่งทำให้ช่วยสร้างอาชีพเสริมหรือเป็นอาชีพหลักให้กับคนในชุมชนและช่วยเพิ่มรายได้ ซึ่งสอดคล้องกับการน้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริที่แท้จริงของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มาประยุกต์ใช้และยังสอดคล้องกับแนวนโยบายของมหาวิทยาลัยแม่โจ้และของรัฐบาลในปัจจุบันในด้านการสนับสนุนให้เปลี่ยนเป็นการผลิตแบบระบบเกษตรอินทรีย์อย่างมีคุณภาพอย่างยั่งยืน

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อน้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มาประยุกต์ใช้สำหรับลดปัญหาฝุ่นละอองทำให้สิ่งแวดล้อมในชุมชนน่าอยู่อาศัย มีปัจจัยการผลิตไว้ใช้เองในการทำการเกษตร และสร้างอาชีพเสริม เพิ่มรายได้ให้แก่ครอบครัวและชุมชนอย่างยั่งยืน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : การพัฒนาปุ๋ยหมักเพื่อเป็นวัสดุปลูกและวัสดุเพาะกล้า
KPI 1 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 2 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
20 คน 20
KPI 4 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.05 ล้านบาท 0.05
KPI 6 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : การพัฒนาปุ๋ยหมักเพื่อเป็นวัสดุปลูกและวัสดุเพาะกล้า
ชื่อกิจกรรม :
ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาปุ๋ยหมักเป็นวัสดุปลูกสูตรพืชผักและไม้ดอกไม้ประดับ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/03/2567 - 31/07/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.แสงเดือน  อินชนบท (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.สุเทพ  วัชรเวชศฤงคาร (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่)
จำนวน ..20... คน ๆ ละ .120... บาท ..1..... มื้อ ....1.... วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,400.00 บาท 0.00 บาท 2,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่)
จำนวน .20.... คน ๆ ละ ...35.. บาท ...2.... มื้อ ....1.... วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,400.00 บาท 0.00 บาท 1,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร เช่น ปุ๋ยหมัก กระถาง วัสดุเพาะ เมล็ดผัก เมล็ดไม้ดอก บัวรดน้ำ สายยาง จอบ สายยาง ฝักบัวสแตนเลส ป้ายพลาสติก ถุงดำ ขุยมะพร้าว ดินดำ ปุ๋ยมูลสัตว์ ปุ๋ยอินทรีย์ กระบะเพาะเป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 40,000.00 บาท 0.00 บาท 40,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุงานบ้านงานครัว เช่น มีดขนาดเล็ก ช้อนตัก กะละมังเปลผสมวัสดุ เข่ง ไม้กวาด ถังมีหูหิ้ว เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 6,200.00 บาท 0.00 บาท 6,200.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 50000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มี
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มี
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
การพัฒนาปุ๋ยหมักเป็นวัสดุปลูกและวัสดุเพาะกล้าเพื่อประหยัดต้นทุนการผลิต
ช่วงเวลา : 01/02/2567 - 30/09/2567
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล