20908 : โครงการต้นแบบการพัฒนาระบบสุขภาพเมืองยั่งยืน เพื่อรองรับสังคมผู้สูงวัย (และคนทุกคน)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
น.ส.สุทธิพร ฟังเย็น (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 7/12/2566 16:26:18
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/12/2566  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  60  คน
รายละเอียด  เทศบาลเมืองน่าน จ.น่าน ผู้ว่าราชการจังหวัด นายกเทศมนตรี เทศบาลเมือง ผู้อำนวยการโรงพยาบาล ชุมชนผู้สูงอายุ กลุ่มอาสาสมัครชุมชน ฯลฯ และเป็นต้นแบบในการพัฒนาระบบสุขภาพเมืองที่เป็นมิตรกับผู้อายุ (Age Friendly City) ของทุกจังหวัด
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณโครงการบริการวิชาการ (สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร) 2567 330,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วุฒิกานต์  ปุระพรหม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พันธุ์ระวี  กองบุญเทียม
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.3.1.2 ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.3.2 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.3.2.1 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 2(64-68)-FAED การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 2.5(64-68)-FAED67 การพัฒนาระบบกลไกในการดำเนินงาน และการให้บริการวิชาการอย่างมืออาชีพ
ตัวชี้วัด 2.3.1FAED67 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ FAED-2.5.1(64-68) สร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านวิชาการและการบริการวิชาการกับหน่วยงานภายในและชุมชนภายนอกอย่างยั่งยืน
กลยุทธ์ FAED-2.5.3(64-68) ผลักดันและส่งเสริมการขึ้นทะเบียนเป็นที่ปรึกษาของมหาวิทยาลัยในสาขาที่คณะมีความพร้อม
กลยุทธ์ FAED-2.5.2(64-68) จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์งานด้านบริการวิชาการของคณะ
ตัวชี้วัด 2.3.2FAED67 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ FAED-2.5.4(64-68) ส่งเสริม และสนับสนุนการบูรณาการงานบริการวิชาการกับหน่วยงานภายในและชุมชนภายนอก
กลยุทธ์ FAED-2.5.5(64-68) จัดทำฐานข้อมูลที่สนับสนุนการบริหารจัดการและติดตามประเมินผลโครงการบริการวิชาการของคณะ
กลยุทธ์ FAED-2.5.6(64-68) ส่งเสริมการถ่ายทอดวิชาการที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการของท้องถิ่นตามบริบท อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การบริการวิชาการ การฝึกอบรม สัมมนา หลักสูตรระยะสั้นทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ ตลอดจนชุมชนท้องถิ่น
กลยุทธ์ FAED-2.5.7(64-68) เพิ่มปริมาณการยื่นข้อเสนอโครงการ โดยประชาสัมพันธ์การเปิดรับข้อเสนอจากแหล่งทุนต่าง ๆ และประสานการรวมกลุ่มเพื่อเพิ่มโอกาสการยื่นข้อเสนอโครงการ ตลอดจนเพิ่มประสิทธิภาพการบริการ และประสานงานที่เกี่ยวข้องกับการยื่นข้อเสนอภายในมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

สังคมไทยเป็นสังคมผู้สูงอายุ จากการคาดประมาณประชากรของประเทศไทย ปี 2553-2583 ของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) โดยใช้ข้อมูลสำมะโนประชากรและเคหะ พ.ศ. 2553 ของสำนักงานสถิติแห่งชาติเป็นฐานในการประมาณ พบว่า ในปี 2583 ประเทศไทยจะมีผู้สูงอายุที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป สูงถึง 20.5 ล้านคน หรือคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 32 ของจำนวนประชากรไทยทั้งหมด แต่จะมีประชากรวัยแรงงานเพียง 35.18 ล้านคน เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2553 ที่มีประชากรวัยแรงงานจำนวน 42.74 ล้านคน หรือลดลง 7.6 ล้านคน โครงสร้างประชากรไทยที่เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ จะส่งผลต่อการพัฒนาประเทศ เนื่องจากการลดลงของจำนวนและสัดส่วนของประชากรวัยแรงงานที่ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาศักยภาพการผลิตสินค้าต่างๆ นอกจากนี้ การเพิ่มของจำนวนประชากรสูงอายุยังสะท้อนให้เห็นถึงการเพิ่มขึ้นของภาระทางด้านการคลังจากจำนวนประชากรที่อยู่ในวัยพึ่งพิงทั้งในเชิงเศรษฐกิจ สังคมและสุขภาพ นอกเหนือจากปัญหาด้านสุขภาพ ผู้สูงอายุยังเผชิญปัญหาสภาพชีวิต ความเป็นอยู่ และระบบการดูแลที่ไม่ได้มาตรฐาน รวมถึงความมั่นคงทางด้านรายได้ โดยเฉพาะในกลุ่มผู้สูงอายุที่มาจากพื้นฐานครอบครัวที่ยากจน นอกจากนี้ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ยังขาดการพัฒนาทักษะทั้งในการทำงาน และการดำรงชีวิตในสังคมให้เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงให้ความสำคัญกับงานสาธารณสุขเป็นอย่างยิ่ง เพราะเมื่อประชาชนมีร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรงจะนำไปสู่สุขภาพจิตที่ดี และส่งผลให้การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมดีตามไปด้วย ดังพระราชดำรัสตอนหนึ่งว่า "...การรักษาความสมบูรณ์แข็งแรงของร่างกายเป็นปัจจัยของเศรษฐกิจที่ดี และสังคมที่มั่นคงเพราะร่างกายที่แข็งแรงนั้น โดยปกติจะอำนวยผลให้สุขภาพจิตใจสมบูรณ์ด้วย และเมื่อมีสุขภาพสมบูรณ์ดี พร้อมทั้งร่างกายและจิตใจแล้ว ย่อมมีกำลังทำประโยชน์สร้างสรรค์เศรษฐกิจ และสังคมของบ้านเมืองได้เต็มที่ ทั้งไม่เป็นภาระแก่สังคมด้วย คือ เป็นแต่ผู้สร้างมิใช่ผู้ถ่วงความเจริญ..." จากปัจจุบัน 2565 สถานการณ์ผู้สูงอายุที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทั้งจำนวนและสัดส่วน ส่งผลกระทบทางด้านสุขภาพ เศรษฐกิจ สังคมโดยรวม การส่งเสริมสุขภาพในผู้สูงอายุที่ยังมีสุขภาพดี ให้มีสุขภาพแข็งแรง เพื่อยืดเวลาที่จะเกิดการเจ็บป่วยเรื้อรัง หรือการเข้าสู่ภาวะทุพพลภาพออกไป รวมถึงการเตรียมการเพื่อรองรับสภาพปัญหาดังกล่าวจึงมีความสำคัญ เมืองที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ เป็นการเตรียมการเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุ โดยปรับสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการมีสุขภาพดี ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีอายุยืนยาว และมีคุณภาพชีวิตที่ดี สามารถเข้าถึงบริการทางสังคมและบริการทางสุขภาพที่มีคุณภาพ อย่างทั่วถึง เมืองที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ (Age - Friendly Communities/Cities) หมายถึง เมือง/ชุมชนที่มีการดำเนินงานปรับสภาพแวดล้อมภายในบ้าน ชุมชนหรือเมือง และโครงสร้างพื้นฐานเดิมให้เหมาะสม และเอื้อต่อการมีสุขภาพดี สร้างเสริมให้ผู้สูงอายุมีอายุยืนยาวและมีคุณภาพชีวิตที่ดี สามารถเข้าถึงบริการทางสังคม และบริการทางสุขภาพที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึง ตามองค์ประกอบแนวทางขององค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) รัฐบาลมีนโยบายในการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต โดยมอบให้ 4 กระทรวงหลัก คือ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวงสาธารณสุข บูรณาการการทำงานร่วมกัน กำหนดเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ 3S ประกอบด้วย (1)Strong ส่งเสริมสุขภาพให้แข็งแรง (2)Security ส่งเสริมความมั่นคงปลอดภัย (3) Social Participation ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในสังคม โดยในยุทธศาสตร์ Security ได้กำหนดให้ชุมชน, ท้องถิ่น มีการดำเนินงานสิ่งแวดล้อมหรือเมืองที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ (Age - friendly Communities/City) ซึ่งจะเป็นต้นแบบการพัฒนาระบบสุขภาพเมืองที่สามารถรองรับสังคมผู้สูงอายุในระดับภูมิภาคได้ และในเขตภูมิภาคเหนือ จังหวัดน่านมีสัดส่วนจำนวนประชากรผู้สูงอายุมากถึงร้อยล่ะ 29.48 ส่งผลทำให้เกิดการขับเคลื่อนนโยบายดังกล่าว สู่ชุมชนต้นแบบ

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อปรับปรุงอาคาร (Building) และพื้นที่สีเขียว (Landscape) ภายในโรงพยาบาล ที่สามารถรองรับการเข้าถึงของคนทุกคน (Universal Design)
เพื่อร่วมให้คำแนะนำในการวางผังและพัฒนาผังแม่บท (Masterplan) โรงพยาบาล ที่สามารถรองรับการเพิ่มของจำนวนผู้ป่วยและสังคมผู้สูงวัยในอนาคต
เพื่อสร้างฐานเรียนรู้การใช้งานอุปกรณ์อำนวยความสะดวก (Universal Design) สำหรับผู้ป่วยสูงวัยและทุพพลภาพ
เพื่อปรับปรุงพื้นที่สีเขียวสาธารณะ ที่สามารถรองรับพฤติกรรมของผู้สูงวัยและคนทุกคน (Universal Design)
เพื่อพัฒนาระบบสุขภาพเมืองที่ดี (Wellness City) และประยุกต์องค์ความรู้ด้านการออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม เทคโนโลยีภูมิทัศน์ (Landscape) ที่ส่งผลต่อการออกกำลังกายแฝงของผู้สูงอายุ
เพื่อเพิ่มสัดส่วนพื้นที่สีเขียวในเมือง ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ (Micro-Climate change) และสภาวะน่าสบายของมนุษย์ (Human Comfort)
เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้เกี่ยวกับการออกแบบสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงวัยและทุพพลภาพ
เพื่อสอนวิธีการใช้งานเครื่องมือหรืออุปกรณ์อำนวยความสะดวกอย่างถูกวิธี ตามมาตรฐานการออกแบบสภาพแวดล้อมเพื่อคนทุกคน (Universal Design)
เพื่อบอกเทคนิคการดูแลสภาพแวดล้อม ในการรองรับสังคมผู้สูงวัยอย่างยั่งยืน และเป็นต้นแบบในการพัฒนาระบบสุขภาพเมืองที่เป็นมิตรกับคนทุกคน (Age Friendly City)
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ต้นแบบการพัฒนาระบบสุขภาพเมืองยั่งยืน เพื่อรองรับสังคมผู้สูงวัย (และคนทุกคน)
KPI 1 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : จำนวนผู้รับบริการ (ผู้ป่วย ผู้สูงวัย ผู้ทุพพลภาพ ชุมชน เทศบาล หน่วยงานอื่นๆ ในจังหวัด)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
60 คน 60
KPI 3 : ความร่วมมือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
5 หน่วยงาน 5
KPI 4 : ร้อยละของโครงการที่นำไปใช้ประโยชน์จริง
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : จำนวนผลงานออกแบบที่เกิดจากการปรับสภาพแวดล้อมที่รองรับพฤติกรรมผู้สูงวัย
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 ผลงาน 10
KPI 6 : จำนวนผังแม่บทการปรับปรุงสภาพแวดล้อมโรงพยาบาลน่าน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ผลงาน 1
KPI 7 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 8 : จำนวนฐานเรียนรู้จำลองการออกแบบสภาพแวดล้อมเพื่อผู้สูงวัย 3 มิติ (Animation)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ฐาน 1
KPI 9 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 10 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.33 ล้านบาท 0.33
KPI 11 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ต้นแบบการพัฒนาระบบสุขภาพเมืองยั่งยืน เพื่อรองรับสังคมผู้สูงวัย (และคนทุกคน)
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 โครงการ “การปรับปรุงสภาพแวดล้อมด้านกายภาพ เพื่อรองรับการเข้าถึงของคนทุกคน (Universal Design) : โรงพยาบาลน่าน”

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/12/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วุฒิกานต์  ปุระพรหม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์พันธ์ศักดิ์  ภักดี (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พันธุ์ระวี  กองบุญเทียม (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่)
(จำนวน 25 คนๆ ละ 100 บาท 1 มื้อ จำนวน 4 วัน)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าที่พัก
(700 บาท x 7 ห้อง x 2 วัน)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 9,800.00 บาท 0.00 บาท 9,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถยนต์พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง
(2,800 บาท x 2 คัน x 4 วัน)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 22,400.00 บาท 0.00 บาท 22,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาทำหุ่นจำลอง 3 มิติ ฐานเรียนรู้ UD
(7,000 บาท x 1 ชิ้น)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 7,000.00 บาท 0.00 บาท 7,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาทำแบบ/ปริ้นแบบ (500 บาท x 60 แผ่น)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาเก็บข้อมูลสภาพอากาศและตัวแปรสภาพแวดล้อม @30 นาที
(50 บาท x 72 ข้อมูล x 4 ตัวแปร)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 14,400.00 บาท 0.00 บาท 14,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ)
- ภาคบรรยาย 3 ชั่วโมง (600 บาท x 3 ชั่วโมง x 4 คน x 2 วัน) เป็นเงิน 14,400 บาท
- ภาคปฎิบัติ 5 ชั่วโมง (300 บาท X 5 ชั่วโมง x 2 คน x 4 วัน) เป็นเงิน 12,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 26,400.00 บาท 0.00 บาท 26,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน (300 บาท x 10 คน x 4 วัน)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 12,000.00 บาท 0.00 บาท 12,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ ฯลฯ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 680.00 บาท 0.00 บาท 680.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกโทนเนอร์ CD ฯลฯ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 137680.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 2 โครงการ “การพัฒนาพื้นที่สีเขียวสาธารณะเพื่อการออกกำลังกายแฝงของผู้สูงวัย : เทศบาลเมืองน่าน”

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/12/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ทำเนียบ  อุฬารกุล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์พิทักษ์พงศ์  แบ่งทิศ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วุฒิกานต์  ปุระพรหม (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่)
(จำนวน 25 คนๆ ละ 100 บาท 1 มื้อ จำนวน 4 วัน)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถยนต์พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง
(2,800 บาท x 2 คัน x 4 วัน)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 22,400.00 บาท 0.00 บาท 22,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าที่พัก
(700 บาท x 7 ห้อง x 2 วัน)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 9,800.00 บาท 0.00 บาท 9,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาเก็บข้อมูลสภาพอากาศและตัวแปรสภาพแวดล้อม @30 นาที
(50 บาท x 72 ข้อมูล x 3 ตัวแปร)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 10,800.00 บาท 0.00 บาท 10,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาทำภาพจำลอง 3 มิติ
(2,000 บาท x 5 ชิ้น)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาและออกแบบจัดทำป้ายแบลคดรอปขนาด A1
(1,200 บาท x จำนวน 5 ชิ้น)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ)
- ภาคบรรยาย (600 บาท x 3 คน x 3 ชั่วโมง x 2 วัน) เป็นเงิน 10,800 บาท
- ภาคปฏิบัติ (300 บาท x 3 คน x 5 ชั่วโมง x 4 วัน) เป็นเงิน 18,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 28,800.00 บาท 0.00 บาท 28,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน
(300 บาท x 10 คน x 4 วัน)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 12,000.00 บาท 0.00 บาท 12,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกโทนเนอร์ CD ฯลฯ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,120.00 บาท 0.00 บาท 1,120.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 110920.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 3 โครงการ “การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การออกแบบ-ใช้งาน-ดูแลสภาพแวดล้อม เพื่อพัฒนาต้นแบบเมืองยั่งยืน : จังหวัดน่าน”

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/12/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ลักษณา  สัมมานิธิ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วุฒิกานต์  ปุระพรหม (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์พันธ์ศักดิ์  ภักดี (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ทำเนียบ  อุฬารกุล (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์พิทักษ์พงศ์  แบ่งทิศ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์สุระพงษ์  เตชะ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่)
(100 บาท x 60 คน x 1 มื้อ x 1 วัน)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่)
(35 บาท x 60 คน x 2 มื้อ x 1 วัน)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,200.00 บาท 4,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถยนต์พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง
(2,800 บาท x 1 คัน x 2 วัน)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,600.00 บาท 5,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าที่พัก
(700 บาท x 5 ห้อง x 1 วัน)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,500.00 บาท 3,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาทำป้ายนิทรรศการ
(1,500 บาท x 6 ชิ้น)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 9,000.00 บาท 9,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำคู่มือฝึกอบรมพร้อมเข้าเล่ม (พิมพ์สี 20 หน้า)
(จำนวน 100 เล่ม ๆ ละ 100 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท 10,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาและออกแบบจัดทำป้ายแบลคดรอปพร้อมขาตั้ง
(2,000 บาท x จำนวน 3 ชุด)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ)
- ภาคบรรยาย (600 บาท x 3 ชั่วโมง x 6 คน x 1 วัน) เป็นเงิน 10,800 บาท
- ภาคปฏิบัติ (300 บาท x 5 ชั่วโมง x 6 คน x 1 วัน) เป็นเงิน 9,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 19,800.00 บาท 19,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (ที่มิใช่บุคลากรของรัฐ)
- ภาคบรรยาย (1,200 บาท x 2 ชั่วโมง x 2 คน x 1 วัน) เป็นเงิน 4,800 บาท
- ภาคปฎิบัติ (300 บาท x 8 ชั่วโมง x 2 คน x 1 วัน) เป็นเงิน 4,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 9,600.00 บาท 9,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน
(300 บาท x 3 คน x 2 วัน)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท 1,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ ฯลฯ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 900.00 บาท 900.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกโทนเนอร์ CD ฯลฯ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท 5,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 81400.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
กิจกรรมที่ 1 : ความหนาแน่นของจำนวนประชากรผู้ป่วยฯ ในการลงพื้นที่ให้บริการ อาจส่งผลต่อค่าความคลาดเคลื่อนของตัวแปรสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อสภาวะน่าสบาย (อุณหภูมิอากาศ ความชื้นสัมพัทธ์ การแผ่รังสีความร้อน)
กิจกรรมที่ 2 : สถานการณ์โรคติดต่อ เช่น โควิด 19 และความสามารถในการเข้าอบรมของผู้ทุพพลภาพ
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
กิจกรรมที่ 1 : ประสานงานกับเจ้าหน้าที่ และติดตั้งเครื่องมือบันทึกข้อมูลตลอด 24 ชั่วโมง
กิจกรรมที่ 2 : ประสานงานเจ้าหน้าที่จังหวัด จัดให้มีการเผยแพร่ทาง Online เพิ่มอีก 1 ช่องทาง
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ออกแบบสถาปัตยกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อม ทฤษฎีการวางแผนเมืองและสภาพแวดล้อม ปฏิบัติการก่อสร้างภูมิทัศน์
ช่วงเวลา : 01/12/2566 - 30/09/2567
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
นวัตกรรมเพื่อการออกแบบอารยสถาปัตยกรรม จากโจทย์วิจัยเชิงพื้นที่
ช่วงเวลา : 01/12/2566 - 30/09/2567
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล