20904 : โครงการปรับปรุงและวิพากษ์หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2567) (67-2.1.11)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
น.ส.รุ้งทอง เขื่อนขัน (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 24/11/2566 12:22:03
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
02/10/2566  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  20  คน
รายละเอียด  คณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตรฯ คณะกรรมการวิพากษ์หลักสูตรฯ บุคลากร อาจารย์ประจำหลักสูตร และบุคลากรคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม และบุคคลภายนอก (ถ้ามี)
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนงานยุทธศาสตร์
แผนงานรอง : แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต
ผลผลิต : ผู้สำเร็จการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กิจกรรมสนับสนุนบริหารจัดการทั่วไป
แผนงานการเรียนการสอน
งานสนับสนุนการจัดการศึกษา
กองทุนเพื่อการศึกษา
งบเงินอุดหนุน
เงินอุดหนุนทั่วไป
โครงการตามแผนปฏิบัติการมหาวิทยาลัย (มิติที่ 2)
2567 35,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดิศสกุล  อึ้งตระกูล
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.1.6 ผลการประกันคุณภาพภายใน
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.1.6.3 ทบทวนหลักสูตรของมหาวิทยาลัยให้ได้คุณภาพ ทันสมัย สอดคล้องกับความต้องการของตลาดอย่างแท้จริง เป็นไปตามมาตรฐาน และสอดคล้องกับสถานการณ์แผน/ผลการรับนักศึกษาของแต่ละหลักสูตร
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.1.6.4 พัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอน และการให้บริการด้านวิชาการออนไลน์ เพื่อการเป็น Digital university ที่สมบูรณ์ รวมทั้งการจัดทำหลักสูตรออนไลน์ หรือ MOOC ทั้งระยะสั้นและระยะยาว
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 2(64-68)-FAED การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 2.3(64-68)-FAED67 การพัฒนาคุณภาพด้านการบริหารจัดการหลักสูตร
ตัวชี้วัด 2.1.6FAED67 ผลการประกันคุณภาพภายใน
กลยุทธ์ FAED-2.3.1(64-68) การดำเนินการทวนสอบของหลักสูตร
กลยุทธ์ FAED-2.3.5(64-68) จัดทำฐานข้อมูล Area of Improvement จากนักศึกษาปัจจุบัน บัณฑิต ผู้ใช้บัณฑิต และจากผลการประเมินคุณภาพภายในทุกระดับ เพื่อนำเสนอพิจารณาการปรับปรุงต่อหลักสูตรและคณะกรรมการประจำคณะ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นหลักสูตรที่เปิดสอนมาประมาณ 14 ปี (โดยในปี พ.ศ.2552 เปิดรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี หลักสูตร 5 ปี สาขาวิชาสถาปัตยกรรม) ในด้านโครงสร้างพื้นฐาน หลักสูตรเปิดการเรียนการสอนภายใต้คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ที่มีความพร้อมทั้งอาคารเรียน อาคารหอประชุมใหญ่ ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ห้องสมุด อาคารปฏิบัติการวิชาชีพ อาคารศูนย์เรียนรู้วัสดุพืชพรรณฯ พื้นที่ฟาร์มของคณะฯลฯ บัณฑิตที่จบการศึกษาจากหลักสูตรนี้มีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับของตลาดแรงงาน และมีภาวะการมีงานทำของบัณฑิตอยู่ในอัตราที่สูง บัณฑิตส่วนใหญ่มีความอดทนสู้งานในการปฏิบัติวิชาชีพสถาปัตยกรรม และในปัจจุบันมีสถาบันการศึกษาที่เปิดการเรียนการสอนในหลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต อยู่ประมาณทั้งสิ้น 31 สถาบัน ทางหลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567) ได้ทำการวิเคราะห์ สังเคราะห์ถึงปรัชญาและความสำคัญของหลักสูตรฯ คือ “ผลิตบัณฑิตในวิชาชีพสถาปัตยกรรมที่มีความรู้ มีคุณธรรม มีจริยธรรม อดทน สู้งาน มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพสถาปัตยกรรม ประยุกต์ใช้ความสามารถในเชิงวิชาการและวิชาชีพ สามารถวิเคราะห์ เข้าใจ ตระหนักรู้ในสถานการณ์ของโลก รวมทั้งบูรณาการศาสตร์ทางด้านสถาปัตยกรรมและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อการออกแบบสถาปัตยกรรมที่สอดคล้องกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน” เพื่อให้มีชัดเจน และสะท้อนถึงอัตลักษณ์ตัวตนของสาขาวิชา และคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ในการปรับปรุงหลักสูตรครั้งนี้ ได้มีการทบทวนโครงสร้างรายวิชาเพื่อให้ตอบโจทย์ความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกลุ่มต่างๆ และสภาพการเปลี่ยนแปลงของยุคปัจจุบัน ได้มีกระบวนการทบทวนรายวิชาตั้งแต่วิชาหมวดวิชาศึกษาทั่วไป หมวดวิชาเฉพาะ และหมวดวิชาเลือกเสรี เพื่อทำการเรียบเรียงและเรียงร้อยให้มีความสอดคล้องเพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และบรรลุวัตถุประสงค์ของหลักสูตรพร้อมทั้งตอบ PLOs ของหลักสูตร ในการเรียนการสอนกำหนดให้มีการเรียนทฤษฎีควบคู่กับการลงมือปฏิบัติและประสบการ์จากอาจารย์ผู้สอน มีรูปแบบการเรียนหลายลักษณะ เช่น การเรียนภายในห้องเรียนซึ่งเน้นการเรียนเฉพาะบุคคลและเป็นทีม การเรียนรู้เชิงนวัตกรรมโดยการถ่ายทอดองค์ความรู้จากงานวิจัยและสิ่งที่ค้นพบ เพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกยุคปัจจุบัน สนับสนุนให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเองซึ่งตอบโจทย์การเรียนรู้ตลอดชีวิตหรือ Life Long Learning ซึ่งหลักสูตรได้กำหนดไว้ตามกรอบของ The European Reference Framework ครบทั้ง 8 ทักษะ ดังนั้นหลักสูตรสถาปัตยกรรม จะสามารถผลิตบัณฑิตที่พร้อมด้วยความรู้ที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก สามารถประยุกต์องค์ความรู้เพื่อสร้างเทคโนโลยีและนวัตกรรมอาคารประหยัดพลังงาน สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมเขตร้อนชื้น ซึ่งเป็นแนวคิดหลักในการออกแบบปรับปรุงหลักสูตร และเป็นจุดเด่นของสาขาสถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ทรัพยากรบุคคลด้านสิ่งแวดล้อมจำนวนมาก ส่งผลให้บัณฑิตที่จบหลักสูตรมีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านสถาปัตยกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นกระแสสังคมปัจจุบัน

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อปรับปรุงหลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567)
เพื่อวิพากษ์หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567)
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผลการปรับปรุงและวิพากษ์หลักสูตรสถาปัตยกรรมบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2567)
KPI 1 : ร้อยละของหลักสูตรได้รับการปรับปรุงและวิพากษ์หลักสูตร
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 2 : จำนวนของหลักสูตรที่ได้รับการปรับปรุงเป็นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 หลักสูตร 1
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผลการปรับปรุงและวิพากษ์หลักสูตรสถาปัตยกรรมบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2567)
ชื่อกิจกรรม :
2.1.11.1 กิจกรรมปรับปรุงหลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 02/10/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดิศสกุล  อึ้งตระกูล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (30 บาท x 20 คน x 2 มื้อ)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
1,200.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (100 บาท x 20 คน x 1 มื้อ)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
2,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนคณะกรรมการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรศาสตรบัณฑิต (1,600 บาท x 6 คน x 1 ครั้ง)=9,600+(2,000 บาท x 1 คน x 1 ครั้ง)=2,000.-
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
11,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 11,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุ (ถ่ายเอกสาร และเข้าเล่ม)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
3,200.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,200.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 18000.00
ชื่อกิจกรรม :
2.1.11.2 กิจกรรมวิพากษ์หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 02/10/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดิศสกุล  อึ้งตระกูล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (30 บาท x 19 คน x 2 มื้อ)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
1,140.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,140.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (100 บาท x 19 คน x 1 มื้อ)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
1,900.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,900.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนคณะกรรมการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต (1,600 บาท x 6 คน x 1 ครั้ง)=9,600+(2,000 บาท x 1 คน x 1 ครั้ง)=2,000.-
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
11,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 11,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุ (ถ่ายเอกสาร และเข้าเล่ม)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
2,360.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,360.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 17000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
-ไม่มี-
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
-ไม่มี-
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล