20894 : โครงการส่งเสริมศักยภาพชุมชนเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต(เกษตร สุขภาพ การศึกษา และหัตถกรรมท้องถิ่น)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
อาจารย์อาภาลัย สุขสำราญ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 29/2/2567 14:21:54
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
09/02/2567  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  คนในชุมชนตำบลเมืองเล็น อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 30 คน, อาจารย์และเจ้าหน้าที่คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จำนวน 20 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะศิลปศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบบริการวิชาการ 2567 330,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ อาภาลัย  สุขสำราญ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ฐาปกรณ์  เครือระยา
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชนาพร  ขันธบุตร
อาจารย์ ดร. ปารดา  เดชะประทุมวัน
อาจารย์ ดร. ศรัณย์  จันทร์ทะเล
อาจารย์ สุรชัย  ศรีนรจันทร์
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะศิลปศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.3.2 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.3.2.1 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ LA67 มิติที่ 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC): การบริการวิชาการที่เพิ่มศักยภาพในการพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิตของท้องถิ่นชุมชนและสังคม
เป้าประสงค์ LA67-2.7 มีการบริการวิชาการด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ที่ตอบสนองความต้องการของชุมชน เพื่อให้เกิดแหล่งเรียนรู้ การพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิต
ตัวชี้วัด LA67 จำนวนโครงการที่มีการบริการวิชาการด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ที่ตอบสนองความต้องการของชุมชน เพื่อให้เกิดแหล่งเรียนรู้ การพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิต
กลยุทธ์ LA67 ส่งเสริมความร่วมมือการจัดทำโครงการบริการวิชาการเพื่อพัฒนาและตอบสนองความต้องการของชุมชน
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ตำบลเมืองเล็น อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ ประกอบด้วย 5 หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านเมืองวะ (หมู่ 1) บ้านเมืองเล็น (หมู่ 2) บ้านหัวฝาย (หมู่ 3) บ้านเมืองวะ (หมู่ 4) บ้านหนองก้นครุ (หมู่ 5) ข้อมูลจากการสำรวจโดยเทศบาลตำบลเมืองเล็น ปี พ.ศ. 2565 พบว่า ตำบลเมืองเล็นมีประชากรรวม 1,608 ครัวเรือน ประชากรชาย 1,842 คน หญิง 2,152 คน รวมประชากร 3,994 คน ตำบลเมืองเล็นมีผู้สูงอายุรวม 454 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 11.37 ของประชากรทั้งตำบล และหากพิจารณาถึงการประกอบอาชีพจะพบว่า ประชากรส่วนใหญ่ของตำบลเมืองเล็นส่วนใหญ่ประกอบรับจ้าง ร้อยละ 38.61 รองลงมาเป็นกำลังศึกษา ร้อยละ 16.46 ไม่มีอาชีพ ร้อยละ 9.89 เกษตรกรรม ร้อยละ 8.90 และค้าขาย ร้อยละ 8.45 ตามลำดับ (เทศบาลตำลบลเมืองเล็น, 2565) ประชากรในตำบลเมืองเล็นส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับประถมศึกษา รองลงมาเป็นระดับปริญญาตรี มัธยมศึกษาตอนปลาย (กรมพัฒนาชุมชน, 2565) ซึ่งข้อมูลจากการประกอบอาชีพและระดับการศึกษาสะท้อนให้เห็นว่าคนในตำบลยังคงอยู่กับระบบการเกษตร การรับจ้างทั่วไป บางส่วนออกไปทำงานภายนอกชุมชน บางส่วนเป็นคนสูงวัย และคนไร้อาชีพ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เห็นว่า ด้วยศักยภาพที่หลายหลายของบุคลาการภายในคณะที่มีความรู้ความสามารถ ทั้งด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ภาษา การสื่อสาร สุขภาพ และนวัตกรรมทางสังคม สามารถบูรณาการองค์ความรู้ในศาสตร์วิชาต่าง ๆ เพื่อพัฒนาชุมชนโดยองค์รวม ภายใต้ โครงการส่งเสริมศักยภาพชุมชนเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต (เกษตร สุขภาพ ภาษา และหัตถกรรมท้องถิ่น) ด้วยแนวคิดของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาชุมชนให้อยู่รอด พอมีพอกิน เข้มแข็ง และมีความพร้อมต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกสมัยใหม่ จากการสำรวจถึงการรวมกลุ่มต่าง ๆ ของประชากรในตำบลเมืองเล็นพบว่า ชาวตำบลเมืองเล็นแต่ละหมู่บ้านต่างมีผลิตภัณฑ์ชุมชนของตนเองอย่างหลากลาย ได้แก่ หมู่ 1 กลุ่มผ้าบาติค กลุ่มหมอเมือง และกลุ่มข้าวไรซ์เบอรี่ หมู่ 2 มี กลุ่มโคมตุงล้านนา กลุ่มผลิตภัณฑ์แปรรูปสินค้าการเกษตร หมู่ 3 มี กลุ่มปุ๋ยชีวภาพ กลุ่มดอกไม้จันทน์ กลุ่มอาหารแปรรูป หมู่ 4 มี กลุ่มตัดเย็บผ้าพื้นเมือง กลุ่มผลิตภัณฑ์หัตถกรรมงานไม้ และหมู่ 5 มี กลุ่มเลี้ยงวัวเนื้อ กลุ่มผลิตภัณฑ์จากกะลามะพร้าว เป็นต้น (เทศบาลตำบลเมืองเล็น, 2565) แต่พบว่าการรวมกลุ่มต่าง ๆ ยังขาดการส่งเสริมให้เกิดความตระหนักในการสร้างมูลค่า การสร้างรายได้ และการพัฒนาตลาดของผลิตภัณฑ์ชุมชนอย่างเป็นรูปธรรม อาจเป็นเพราะขาดการส่งเสริมความตระหนักในผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น ผลิตภัณฑ์ทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญา รวมถึงชุมชนไม่ได้ให้ความสำคัญกับการส่งเสริมทักษะการเป็นผู้ประกอบการให้กับคนในชุมชนมากเท่าที่ควร การศึกษาการรวบรวมงานเซรามิกประดับ สู่การสืบสานงานศิลปกรรมล้านนา พบว่า ในอดีตมีการใช้เซรามิกประดับงานสถาปัตยกรรมล้านนา เกิดเป็นลวดลายประดับในงานศิลปะที่รับใช้ศาสนา เช่น ช่อฟ้า ปราสาทเฟื้อง เมฆตั้งเมฆไหล และสัตว์ต่างๆ ในการประดับงานสถาปัตยกรรม เช่น วิหารอุโบสถ และซุ้มประตูโขง เป็นต้น โดยงานดังกล่าวเป็นลักษณะงานช่างเช่นเดียวกับงานปูนปั้น เพียงแต่ใช้วัสดุและมีกระบวนการที่แตกต่างกันออกไป นอกจากนี้ยังแสดงให้เห็นถึงประวัติความเป็นมา การเกิดขึ้นของงานเซรามิกประดับในแต่ละพื้นที่ ถึงรูปแบบที่มีพัฒนาการและปรับใช้ในยุคสมัยที่ต่างกัน โดยการเก็บรวบรวมงานเซรามิกประดับ ปรากฎอยู่วัด/แหล่งข้อมูล 12 แห่ง ใน 3 จังหวัด คือ วัดในเขตจังหวัดเชียงใหม่ 4 แห่ง วัดในเขตจังหวัดลำพูน 2 แห่ง และวัดในเขตจังหวัดลำปาง 6 แห่ง ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาของกลุ่มคนไทลื้อ ไทเขิน ที่ถูกกวาดต้อนมาในหลายระลอกของหน้าประวัติศาสตร์ล้านนา ทั้งในส่วนของน้ำเคลือบ พบว่านิยมใช้เคลือบขี้เถ้า ถือว่าเป็นเคลือบที่เก่าแก่ชนิดหนึ่งที่ปัจจุบันไม่ได้ถูกนำมาสร้างสรรค์อีกแล้ว ทำให้งานเครื่องเคลือบประดับ งานช่างปั้นเซรามิกประดับ หายไปจากงานศิลปกรรมล้านนาเกือบร้อยปี ปัจจุบันงานเซรามิกกลับมาเป็นที่ต้องการของช่างในการสร้างงานสถาปัตยกรรมล้านนาอีกครั้ง โดยเฉพาะหงส์ประดับสันหลังคา เมฆตั้งเมฆไหล และเครื่องประดับอาคารสถาปัตยกรรม ที่เป็นเทคนิคโบราณ โดยต้องสั่งทำที่เมืองเชียงตุง เขตรัฐฉาน สหภาพเมียนม่าร์ เนื่องด้วยในภาคเหนือตอนบนไม่มีแหล่งผลิตและขาดองค์ความรู้ในการผลิตมาเกือบร้อยปี จึงเป็นเหตุผลสำคัญ ที่คณะศิลปศาสตร์จะได้นำองค์ความรู้จากงานวิจัยมาบริการวิชาการทั้งรูปแบบเทคนิคและนำไปสู่การทดลองสูตรเคลือบ ซึ่งองค์ความรู้เหล่านี้ จะนำไปสู่การสร้างโอกาสและการรื้อฟื้นแหล่งผลิตเซรามิกประดับในวัฒนธรรมล้านนาอีกครั้ง จะเป็นประโยชน์และสร้างองค์ความรู้ใหม่ให้กับคนในชุมชนที่เข้าร่วมสามารถนำไปพัฒนาและปรับใช้ในการสร้างอาชีพ สร้างรายได้ ในอนาคตต่อไป “โครงการพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการตำบลเมืองเล็น อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่” จึงมีวัตถุประสงค์หลักที่จะพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการในท้องถิ่นอย่างเป็นรูปธรรมด้วยการส่งเสริมให้เกิดการนำเอาทรัพยากรกรชุมชนและทรัพยากรทางวัฒนธรรมมาให้ประโยชน์และสร้างรายได้ พัฒนาทักษะการเป็นผู้ประกอบการสมัยใหม่ เน้นการพัฒนาศักยภาพการเป็นผู้ประกอบการในด้านต่าง ๆ นอกจากนี้ยังปลูกจิตสำนึกรักษ์ท้องถิ่นและส่งเสริมให้คนในตำบลที่ทำงานรับจ้างในเมืองหันกลับมาให้ความสำคัญกับชุมชนและ/หรือทำงานในชุมชน

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อเพิ่มช่องทางสร้างรายได้ให้แก่ชุมชนตำบลเมืองเล็น อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ ตอบสนองความต้องการของตลาด โดยอาศัยองค์ความรู้เกี่ยวกับงานเครื่องปั้นดินเผาประดับ
เพื่อพัฒนาทักษะการเป็นผู้ประกอบการสมัยใหม่ (Modern Entrepreneur) ให้แก่คนในชุมชนตำบลเมืองเล็น อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ สามารถนำไปพัฒนาและปรับใช้ในการสร้างอาชีพ สร้างรายได้
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : คนในชุมชนที่เข้ารับการอบรมได้รับความรู้และทักษะการปั้นเครื่องปั้นดินเผาประดับ สามารถผลิตชิ้นงานเพื่อตอบสนองความต้องการของตลาดได้
KPI 1 : ร้อยละของงานบริการวิชาการแล้วเสร้จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 2 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 คน 50
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : ร้อยละของรายได้ที่เพิ่มขึ้น/ครัวเรือน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
5 ร้อยละ 5
KPI 5 : ร้อยละของผู้เข้าร่วมมีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะการปั้นเครื่องปั้นดินเผาประดับ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
70 ร้อยละ 70
KPI 6 : ความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 7 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับการจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.33 ล้านบาท 0.33
ผลผลิต : คนในชุมชนนำความรู้เรื่องการพัฒนาทักษะการเป็นผู้ประกอบการไปพัฒนาผลิตภัณฑ์และหารายได้จากผลิตภัณฑ์ได้
KPI 1 : ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้ไปพัฒนาผลิตภัณฑ์และหารายได้จากผลิตภัณฑ์ได้
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 ร้อยละ 10
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : คนในชุมชนที่เข้ารับการอบรมได้รับความรู้และทักษะการปั้นเครื่องปั้นดินเผาประดับ สามารถผลิตชิ้นงานเพื่อตอบสนองความต้องการของตลาดได้
ชื่อกิจกรรม :
อบรมเชิงปฏิบัติการการปั้นเครื่องปั้นดินเผาประดับ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/03/2567 - 30/06/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์อาภาลัย  สุขสำราญ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ฐาปกรณ์  เครือระยา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.หฤทัย  คงธนจารุอนันต์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ศนิ  ไทรหอมหวล (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.จันทร์จิรา  เหลาราช (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุนทร  คำยอด (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ลักขณา  ชาปู่ (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.ศุภลักษณ์  ดีน้อย (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ (ป้ายกองโจร, ป้ายประชาสัมพันธ์, ป้ายไวนิล ฯลฯ)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 50 คน ๆ ละ 35 บาท 2 มื้อ เป็นเงิน 3,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,500.00 บาท 0.00 บาท 3,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 50 คน ๆ ละ 120 บาท 1 มื้อ เป็นเงิน 6,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาเผาเคลือบ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 60,000.00 บาท 0.00 บาท 60,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถตู้พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 2 คัน ๆ ละ 2,800 บาท 1 วัน เป็นเงิน 5,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 5,600.00 บาท 0.00 บาท 5,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย จำนวน 4 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท 1 คน 1 วัน เป็นเงิน 2,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,400.00 บาท 0.00 บาท 2,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (ที่มิใช่บุคลากรของรัฐ) ภาคปฏิบัติ จำนวน 4 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท 2 คน 1 วัน เป็นเงิน 2,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,400.00 บาท 0.00 บาท 2,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคปฏิบัติ จำนวน 4 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท 1 คน 1 วัน เป็นเงิน 1,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,200.00 บาท 0.00 บาท 1,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว (เครื่องมือปั้น แป้นหมุนพลาสติก ถังน้ำ ฯลฯ)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 14,400.00 บาท 0.00 บาท 14,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร (ดินป้้น ฯลฯ)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว (น้ำยาเคลือบเซรามิก 1 ถัง)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 8,000.00 บาท 0.00 บาท 8,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 119500.00
ผลผลิต : คนในชุมชนนำความรู้เรื่องการพัฒนาทักษะการเป็นผู้ประกอบการไปพัฒนาผลิตภัณฑ์และหารายได้จากผลิตภัณฑ์ได้
ชื่อกิจกรรม :
อบรมเชิงปฏิบัติการการผู้ประกอบการสมัยใหม่ (Modern Entrepreneur)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/03/2567 - 30/06/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์อาภาลัย  สุขสำราญ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.หฤทัย  คงธนจารุอนันต์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์สุรชัย  ศรีนรจันทร์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ลักขณา  ชาปู่ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์นิลุบล  จิตต์มั่น (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ปิยะพันธุ์  นันตา (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อานนท์  สีดาเพ็ง (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.ศุภลักษณ์  ดีน้อย (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถตู้พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 5 คัน ๆ ละ 2,800 บาท 1 วัน เป็นเงิน 14,000 บาท

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 14,000.00 บาท 0.00 บาท 14,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 50 คน ๆ ละ 35 บาท 10 มื้อ เป็นเงิน 17,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 17,500.00 บาท 0.00 บาท 17,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 50 คน ๆ ละ 120 บาท 5 มื้อ เป็นเงิน 30,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย จำนวน 8 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท 1 คน 5 วัน เป็นเงิน 24,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 24,000.00 บาท 0.00 บาท 24,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน (กระดาษ ปากกา กรรไกร ฯลฯ)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 20,300.00 บาท 0.00 บาท 20,300.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 105800.00
ชื่อกิจกรรม :
เผยแพร่ผลิตภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผาประดับและผลิตภัณฑ์ชุมชน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/07/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์อาภาลัย  สุขสำราญ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.หฤทัย  คงธนจารุอนันต์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์สุรชัย  ศรีนรจันทร์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ฐาปกรณ์  เครือระยา (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์จิลลา  กิติกรวรเดช (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรรณิดา  ขันธพัทธ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ศิริพร  มณีชูเกตุ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุภาพร  มโนวงศ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.ศุภลักษณ์  ดีน้อย (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 50 คน ๆ ละ 35 บาท 2 มื้อ เป็นเงิน 3,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,500.00 บาท 3,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 50 คน ๆ ละ 120 บาท 1 มื้อ เป็นเงิน 6,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถตู้พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 5 คัน ๆ ละ 2,800 บาท 1 วัน เป็นเงิน 14,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 14,000.00 บาท 14,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดสถานที่งานแสดงผลิตภัณฑ์ชุมชน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 50,000.00 บาท 50,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำสื่อคลิปวิดิโอประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผาประดับ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท 30,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย จำนวน 2 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท 1 คน 1 วัน เป็นเงิน 1,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,200.00 บาท 1,200.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 104700.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล