20886 : โครงการ Work shop จุดประกายแนวคิด สู่การเป็นผู้ประกอบการ
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
รองศาสตราจารย์ ดร.นิศาชล ลีรัตนากร (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 28/11/2566 14:13:34
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการพัฒนากิจกรรมนักศึกษา (เบิกจ่ายจากงบพัฒนากิจกรรมนักศึกษา)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/02/2567  ถึง  31/03/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  70  คน
รายละเอียด  นักศึกษาที่ลงทะเบียนรายวิชา ศศ 362 การวางแผนและประเมินโครงการ อาจารย์และนักศึกษาคณะเศรษฐศาสตร์ จำนวน 70 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะเศรษฐศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนงานการเรียนการสอน งานสนับสนุนการจัดการศึกษา กองทุนกิจการนักศึกษา งบเงินอุดหนุน หมวดเงินอุดหนุนทั่วไป (โครงการตามแผนปฏิบัติการมหาวิทยาลัย (มิติที่ 2)) (เงินจากงบพัฒนากิจกรรมนักศึกษา) 2567 10,700.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
รองศาสตราจารย์ ดร. นิศาชล  ลีรัตนากร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชนิตา  พันธุ์มณี
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มนตรี  สิงหะวาระ
อาจารย์ ดร. เกวลิน  สมบูรณ์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะเศรษฐศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.1.4 ความพึงพอใจผู้ใช้บัณฑิต
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.1.4.1 พัฒนาคุณภาพของบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 4. การพลิกโฉมสู่การเป็นมหาวิทยาลัยกลุ่มที่ 2 (Reinventing University)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 4.1 เป็นมหาวิทยาลัยด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างวัตกรรม (Technology Development and Innovation)
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 4.1.1 นักศึกษาและบัณฑิตผู้ประกอบการ ที่ได้รับการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 4.1.1.1 สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้สามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดเป็นนวัตกรรม
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 4.1.5 ระบบนิเวศด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อเร่งพัฒนาผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 4.1.1.1 สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้สามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดเป็นนวัตกรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 65-69ECON 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69ECON2-1 ขยายฐานบัณฑิต ผลิตบัณฑิตที่เป็นนักคิดวิเคราะห์ นักปฏิบัติ และสามารถเป็นผู้ประกอบการที่มีฐานคิดด้านเศรษฐศาสตร์ ทันต่อการเปลี่ยนแปลง และคำนึงถึงความรับผิดชอบต่อสังคม
ตัวชี้วัด 65-69ECON2-1.8 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-1.8.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาที่มุ่งเน้นการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
ตัวชี้วัด 65-69ECON2-1.9 จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมด้านการสร้างความเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-1.9.2 จัดโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมการสร้างทักษะการเป็นผู้ประกอบการ
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 65-69ECON 4 การพลิกโฉมมหาวิทยาลัย (Reinventing)
เป้าประสงค์ 65-69ECON4-1 เป็นมหาวิทยาลัยด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม (Technology and Innovation)
ตัวชี้วัด 65-69ECON4-1.2 จำนวนโครงการที่สนับสนุนการสร้างนวัตกรรมผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 65-69ECON 4-1.2.1 ส่งเสริมให้คณาจารย์และศูนย์วิจัยฯ ดำเนินกิจกรรม/โครงการเพื่อสร้างนวัตกรรมสู่การเป็นผู้ประกอบการ
ตัวชี้วัด 65-69ECON4-1.1 นักศึกษาและบัณฑิตผู้ประกอบการ หรือผู้ที่ได้รับการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 65-69ECON 4-1.1.2 จัดหลักสูตรฝึกอบรม/โครงการเพื่อพัฒนานักศึกษาสู่การเป็นผู้ประกอบการ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ตามที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้ได้กำหนดพันธกิจและวัตถุประสงค์ในการผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถในวิชาการและวิชาชีพโดยเฉพาะการเป็นผู้ประกอบการ (Entrepreneurs) ที่ทันต่อกระแสการเปลี่ยนแปลงโดย เน้นทางด้านการเกษตร วิทยาศาสตร์ประยุกต์ ภาษาต่างประเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ และสาขาวิชาที่สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจ ชุมชนท้องถิ่น และสังคมของประเทศ และได้กำหนดให้คณะฯ ดำเนินการเพื่อสนับสนุนพันธกิจดังกล่าวนั้น ในภาคการศึกษาที่ 2/2566 สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ได้เปิดสอนรายวิชา ศศ 362 การวางแผนและประเมินโครงการ ซึ่งเป็นรายวิชาที่มีวัตถุประสงค์ให้นักศึกษาได้ทดลองสร้างธุรกิจจำลองของตนเอง และศึกษาความเป็นไปได้ของธุรกิจนั้น เพื่อให้บรรลุตัวชี้วัด เป้าประสงค์ในการเป็นมหาวิทยาลัยด้านการผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถในวิชาการและวิชาชีพโดยเฉพาะการเป็นผู้ประกอบการ สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์จึงได้จัดโครงการ Work Shop นี้ขึ้น โดยได้เชิญวิทยากรจากหน่วยงานภายนอกมหาวิทยาลัยที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ ในเรื่องดังกล่าวมาเป็นวิทยากรในการ Work Shop เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนำองค์ความรู้ไปประกอบอาชีพได้ในอนาคต

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในแนวทางการพัฒนาตนเองสู่การเป็นผู้ประกอบการผ่านการ Work Shop
เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่าง นักศึกษา อาจารย์และภาคธุรกิจ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจแนวทางการพัฒนาตนเองไปสู่การเป็นผู้ประกอบการ จาก Work Shop
KPI 1 : ระดับความรู้ความเข้าใจของผู้เข้าร่วมโครงการต่อการพัฒนาตนเองเป็นผู้ประกอบการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 คะแนน 3.51
KPI 2 : จำนวนนักศึกษาและอาจารย์ที่ได้รับการพัฒนาดป็นผู้ประกอบการ (70 คน)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยะ 80
KPI 3 : คะแนนความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 คะแนน 3.51
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจแนวทางการพัฒนาตนเองไปสู่การเป็นผู้ประกอบการ จาก Work Shop
ชื่อกิจกรรม :
การจัด Work shop จุดประกายแนวคิด สู่การเป็นผู้ประกอบการ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/02/2567 - 31/03/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.นิศาชล  ลีรัตนากร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 70 คน คนละ 50 บาท รวม 1 มื้อ คิดเป็นเงิน 3,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 2 คน คนละ 3 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 1,200 บาท คิดเป็นเงิน 7,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 7,200.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 10700.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล