20866 : โครงการ "พัฒนาพลังงานสะอาดเพื่อการลดปริมาณคาร์บอนเครดิตในสวนปาล์ม"
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
อาจารย์วิชชุดา เอื้ออารี (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 20/12/2566 15:38:05
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/01/2567  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  20  คน
รายละเอียด  หน่วยงาน องค์กร รวมทั้งกลุ่มเกษตรกรและบุคคลทั่วไปที่สนใจ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบบริการวิชาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 2567 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ วิชชุดา  เอื้ออารี
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุทธิรักษ์  ผลเจริญ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. จิระศักดิ์  วิชาสวัสดิ์
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.3.1.2 ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.67 : 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.67 : 1.2 ความสำเร็จของการเป็นมหาวิทยาลัยแห่งชีวิต (GO.Eco U.)
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.67 : 1.2.1 ความสำเร็จของยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์ (Organic University)
กลยุทธ์ มจ.ชพ.67 : 3. กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่มหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์ที่ชัดเจน และขับเคลื่อนกิจกรรมรวมทั้งติดตามประเมินผลอย่างเป็นระบบ
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.67 : 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.67 : 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคมชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.67 : 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ มจ.ชพ.67 : 28. ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.67 : 2.3.2 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ มจ.ชพ.67 : 29. สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ในสภาพอากาศปัจจุบันภาวะเรือนกระจก(greenhousegas; GHG) เป็นหนึ่งในประเด็นสำคัญทางสิ่งแวดล้อมที่ถูกกล่าวถึงทั่วโลก รวมทั้งยังระดมกระบวนการและวิธีการแก้ปัญหาอย่างแข็งขัน ประเทศไทยปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก (greenhousegas; GHG) จำนวนปีละ 300 ล้านตัน จัดเป็นอันดับที่ 12 ของโลก จึงมีโอกาสสูงที่จะได้รับผลกระทบรุนแรงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จึงได้เกิดข้อตกลงระหว่างนานาประเทศเพื่อกำหนดกลไกการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกร่วมกัน เป็นที่มาของพิธีสารเกียวโต (Kyoto Protocol, KP) การคำนวณปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสำหรับประเทศพัฒนาแล้วสามารถนำปริมาณก๊าซที่ลดได้และผ่านการรับรอง CERs (Certified Emission Reduction) หรือที่เรียกกันว่าคาร์บอนเครดิตและยังสามารถนำมาซื้อขายได้ในตลาดคาร์บอนเครดิต (Carbon market) อีกด้วย ก๊าซเรือนกระจกที่ปลดปล่อยมาจากก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์(CO2 ) ที่ถูกปลดปล่อยออกมาอย่างมหาศาล ส่วนใหญ่มาจากมนุษย์เป็นผู้สร้าง ส่งผลให้อุณหภูมิที่ผิวโลกสูงขึ้นอย่างเร็วจนเกิดปรากฏการณ์เปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ (climate change) อีกทั้งการปลดปล่อยธาตุคาร์บอนของต้นไม้ ดิน และอินทรียวัตถุซึ่งปริมาณคาร์บอนที่ถูกปลดปล่อยออกมานั้น สามารถทำการวัดปริมาณคาร์บอนเพื่อเป็นข้อมูลสำหรับการนำปริมาณคาร์บอนผันกลับมาใช้ประโยชน์ได้ แต่ในสภาพการณ์ในปัจจุบันระบบนิเวศทางธรรมขาติ ป่าไม้ ได้ถูกทำลายไปเป็นจำนวนมาก ทำให้คาร์บอนถูกปลดปล่อยออกมาแล้วยังเป็นการทำลายแหล่งดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซดท์ที่สำคัญอีกด้วย ปาล์มน้ำมันมีถิ่นกำเนิดในแถบแอฟริกาตะวันตก ชาวโปรตุเกสได้นำปาล์มน้ำมันเข้ามาปลูกในทวีปเอเชีย ประเทศไทยพื้นที่ปลูกปาล์มน้ำมันส่วนใหญ่อยู่ในภาคใต้ประมาณ 2,100,000 ไร่ และมีการพัฒนาการขยายพื้นที่ปลูกอย่างรวดเร็ว โดยจังหวัดที่ปลูกมากที่สุดคือ กระบี่ สุราษฎร์ธานีและชุมพรตามลำดับ ปาล์มน้ำมันเป็นพืชที่มีบทบาทสำคัญเพิ่มขึ้นมากสำหรับอุตสาหกรรมต่อเนื่อง เพื่อการบริโภค โอลิโอเคมีคอล รวมทั้งผลิตไบโอดีเซลสำหรับใช้เป็นพลังงานทดแทน ในระบบการค้าน้ำมันพืช ได้แก่ น้ำมันปาล์ม น้ำมันถั่วเหลือง น้ำมันเมล็ดในปาล์ม น้ำมันมะพร้าว น้ำมันทานตะวัน และ น้ำมันรำข้าว ซึ่งทั้งระบบมีปริมาณน้ำมันปาล์มในสัดส่วนสูงถึงร้อยละ 66-70 ยุทธศาสตร์ปาลมน้ำมัน และน้ำมันปาล์ม ประจำปี 2558-2569 จึงกำหนดเป้าหมายให้มีการขยายพื้นที่ปลูกปาล์มน้ำมัน โดยปลูกทดแทนสวนเก่า 30,000 ไร่ต่อปี ปัจจุบันอุตสาหกรรมปาล์มน้ำมันของไทยเน้นหนักด้านการแปรรูปน้ำมันพืชถึงร้อยละ 60 ของระบบน้ำมันพืชของประเทศ และน้ำมันปาล์มมีการแข่งขันสูงขึ้นตามตลาดโลก ดังนั้นจึงควรมีการวิเคราะห์หาการดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ได้จากการกักเก็บคาร์บอนในสวนปาล์ม เพื่อนำมาเป็นข้อมูลเบื้องต้นสำหรับการวัดก๊าซเรือนกระจกที่ปลดปล่อยมาจากก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์(CO2 ) ที่ถูกปลดปล่อยออกมาจากสวนปาล์ม

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อเก็บข้อมูลเบื้องต้นสำหรับการวัดก๊าซเรือนกระจกที่ปลดปล่อยมาจากก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์(CO2 ) ที่ถูกปลดปล่อยออกมาจากสวนปาล์ม
เพื่อประเมินการปลดปล่อยมาจากก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์(CO2 ) ที่ถูกปลดปล่อยออกมาจากสวนปาล์ม
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ชุมชนสามารถนำความรู้/เทคโนโลยีจากงานบริการวิชาการไปพัฒนาโครงการเพื่อหาแหล่งทุน/ต่อยอด
KPI 1 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.05 ล้านบาท 0.05
KPI 2 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 5 : จำนวนผู้บริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
20 คน 20
KPI 6 : ร้อยละของผู้รับบริการมีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการวิชาการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 7 : ชุดข้อมูลการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ชุด 1
KPI 8 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ชุมชนสามารถนำความรู้/เทคโนโลยีจากงานบริการวิชาการไปพัฒนาโครงการเพื่อหาแหล่งทุน/ต่อยอด
ชื่อกิจกรรม :
การอบรมการประเมินข้อมูลเบื้องต้นสำหรับการวัดก๊าซเรือนกระจกที่ปลดปล่อยมาจากก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์(CO2 ) ที่ถูกปลดปล่อยออกมาจากสวนปาล์ม

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/12/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์วิชชุดา  เอื้ออารี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุทธิรักษ์  ผลเจริญ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 20 คน ๆ ละ 35 บาท 2 มื้อ 2 วัน เป็นเงิน 2,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,800.00 บาท 0.00 บาท 2,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาการคัดเลือกและเก็บข้อมูลปริมาณคาร์บอนสวนปาล์มต้นแบบสำหรับการเก็บข้อมูลการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์(CO2 ) จำนวน 1 ครั้ง เป็นเงิน 24,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 24,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 24,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 20 คน ๆ ละ 150 บาท 1 มื้อ 2 วัน เป็นเงิน 6,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย จำนวน 6 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท 1 คน 2 วัน เป็นเงิน 7,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร เช่น ตลับเมตร ถุงดำ ฯลฯ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ เอ4 , ปากกาลูกลื่น ฯลฯ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 50000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
สภาพอากาศที่มีผลต่อการเก็บข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ตรวจสอบข้อมูลสภาพอากาศแบบปัจจุบัน
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
การนำนักศึกษาไปฝึกฝนและมีส่วนร่วมในการถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ชุมชน (โดยขอให้ระบุรายวิชา ตาม มคอ. และระบุจำนวนคน) รายวิชา ฟส102 ฟิสิกส์พื้นฐานและรายวิชาสต301 หลักสถิติ ในหัวข้อการคำนวณความหนาแน่น และการวิเคราะห์
ช่วงเวลา : 01/12/2566 - 30/09/2567
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล