20865 : โครงการ "การใช้นวัตกรรมการเกษตรอัจฉริยะ (Smart Agriculyure) ด้วยพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อยกระดับระบบการเลี้ยงปลาดุกลูกผสมความโปนิกส์ (Aquaponics)"
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กมลวรรณ ศุภวิญญู (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/01/2567  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  20  คน
รายละเอียด  เกษตรกรผู้ที่สนใจ อำเภอละแม จังหวัดชุมพร
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน โครงการบริการวิชาการ พ.ศ. 2567 2567 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กมลวรรณ  ศุภวิญญู
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ยุทธนา  สว่างอารมย์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 1.3 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการนำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาประยุกต์ใช้ เพื่อสร้างคุณค่าทางการเกษตรและสิ่งแวดล้อม(Intelligent Agriculture)
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 1.3.1 ความสำเร็จของการดำเนินงานด้านเกษตรอัจฉริยะ (Intelligent Agriculture)
กลยุทธ์ 67-70 MJU 1.3.1.3 พัฒนาต่อยอดนวัตกรรมด้านเกษตรอัจฉริยะเพื่อถ่ายทอดให้ผู้ใช้ประโยชน์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.3.1.2 ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.67 : 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.67 : 1.3 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการนำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาประยุกต์ใช้เพื่อสร้างคุณค่าทางการเกษตรและสิ่งแวดล้อม (Intelligent Agriculture)
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.67 : 1.3.1 ความสำเร็จของการดำเนินงานด้านเกษตรอัจฉริยะ (Intelligent Agriculture)
กลยุทธ์ มจ.ชพ.67 : 9. พัฒนาต่อยอดนวัตกรรมด้านเกษตรอัจฉริยะเพื่อถ่ายทอดให้ผู้ใช้ประโยชน์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.67 : 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.67 : 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคมชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.67 : 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ มจ.ชพ.67 : 28. ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันปลาดุกลูกผสมเป็นปลาน้ำจืดเพียงไม่กี่ชนิดที่ประชาชนแถบภาคใต้ตอนบนนิยมเลี้ยงเพื่อนำมาประกอบอาหารบริโภค ปลาชนิดนี้สามารถผลิตขึ้นได้เองในพื้นที่จำกัด มีระยะเวลาเลี้ยงสั้นและให้ผลผลิตต่อหน่วยพื้นที่สูงเมื่อเทียบกับการเลี้ยงสัตว์ชนิดต่างๆ นอกจากนี้สัตว์น้ำยังเป็นแหล่งอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูง เป็นแหล่งโปรตีนที่ดีแล้วยังมีกรดไขมันและวิตามินต่างๆ และที่สำคัญเนื้อปลาสามารถย่อยได้ง่ายจึงเหมาะสมกับผู้สูงอายุในพื้นที่ที่ปัจจุบันมีจำนวนมากขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งการเลี้ยงปลาดุกลูกผสมในปัจจุบันนิยมเลี้ยงด้วยความหนาแน่นต่อหน่วยสูงควบคู่กับการใช้อาหารสำเร็จรูปคุณภาพสูงเป็นอาหารหลักส่วนใหญ่มีโปรตีนสูงถึง 28-40 เปอร์เซ็นต์ ประกอบกับมีการให้อาหารอย่างเต็มที่วันละ 4-5 ครั้ง เพื่อเร่งการเจริญเติบโตและยกระดับผลผลิตให้สูงสุดภายในระยะเวลาอันสั้น จึงส่งผลให้มวลน้ำภายในบ่อมีปริมาณสารอินทรีย์ปนเปื้อนอยู่ในปริมาณสูง ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นแอมโมเนียประมาณ 60-70 เปอร์เซ็นต์ รองลงมา คือ ยูเรีย ยูริค ไนไตรท์ และไนเตรต โดยแอมโมเนียและไนไตรท์มีความเป็นพิษมากส่งผลทำให้ปลาที่เลี้ยงไว้หยุดชะงักการเจริญเติบโตหรืออาจรุนแรงจนทำให้ปลาตายทำให้ต้องมีการเปลี่ยนถ่ายน้ำอย่างน้อยอาทิตย์ละ 1 ครั้ง ในปริมาณสูงถึง 30-50 เปอร์เซ็นต์ ดังนั้น การเลี้ยงปลาดุกลูกผสมในแต่ละครั้งต้องใช้น้ำในปริมาณสูงมากซึ่งไม่สอดคล้องกับปริมาณและคุณภาพน้ำที่สามารถใช้ในการเลี้ยงที่มีปริมาณไม่เพียงพอและมีคุณภาพต่ำ ดังนั้น รูปแบบการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่มีการใช้น้ำน้อยจึงถือเป็นรูปแบบหนึ่งที่มีความน่าสนใจเพื่อใช้วางแผนการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำให้มั่งคงอย่างยั่งยืน ซึ่งจากโครงการบริการวิชาการที่เข้าไปจัดอบรมและส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายมีการเลี้ยงปลาดุกลูกผสมที่ผ่านการบำบัดน้ำด้วยระบบไฮโดรโพนิกส์ที่ผ่านมาซึ่งได้รับการตอบรับเป็นอย่างดี เนื่องจากการเลี้ยงปลาในระบบดังกล่าวส่งผลให้ปลามีการเจริญเติบโตอย่างเต็มที่ในสภาวะที่เหมาะสมและคงที่แล้วได้ผลผลิตปลาสูงกว่าระบบเลี้ยงทั่วไปเป็น 3-4 เท่า (ประมาณ 15 กก./ น้ำ 1 ลบ.ม) แต่มีอัตราการแลกเนื้อต่ำ (ใช้ปริมาณอาหารน้อย แต่ได้มวลเนื้อของปลาสูง) โดยมีการเปลี่ยนถ่ายน้ำน้อยมากหรือแทบไม่มี ลดภาวะการเกิดโรคในปลา และจากการติดตามให้คำปรึกษาและประเมินผลพบว่าเกษตรกรเหล่านี้ปัจจุบันได้ให้ความสนใจและสอบถามเกี่ยวกับการใช้นวัตกรรมการเกษตรอัจฉริยะ (Smart Agriculture) และการพลังงานแสงอาทิตย์เป็นจำนวนมาก ว่าถ้าหากนำมาประยุกต์ใช้ในระบบการเลี้ยงปลาดุกลูกผสมอควาโปนิกส์ (Aquaponics) ด้วยก็น่าทำให้การเลี้ยงปลามีความง่าย สะดวก และประหยัดพลังงานอีกทางหนึ่งจึงถือว่าเป็นการพัฒนาต่อยอดขั้นสูงอีกระดับหนึ่งทำให้เกิดต้นแบบการผลิตอาหารแบบยั่งยืนสำหรับผู้บริโภคเป็นระบบการเลี้ยงปลาที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและประหยัดการใช้ทรัพยากรน้ำแล้วสามารถผลิตอาหารที่ปลอดภัย (ทั้งปลาและพืช) มาบริโภคในครัวเรือนเพื่อลดค่าใช้จ่ายหรือพัฒนาใช้เป็นอาชีพทางเลือกที่สร้างรายได้อีกช่องทางหนึ่ง

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่ออบรมถ่ายทอดการใช้นวัตกรรมการเกษตรอัจฉริยะ (Smart Agriculture) ด้วยพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อยกระดับระบบการเลี้ยงปลาดุกลูกผสมอควาโปนิกส์ (Aquaponics)
เพื่อจัดอบรมให้กับเกษตรกรที่สนใจสามารถใช้เป็นอาชีพทางเลือกที่สร้างรายได้อีกช่องทางหนึ่งเพื่อพึ่งพาตนเองทางด้านอาหาร มีหลักประกันมั่นคงด้านอาชีพและดำรงชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมอบรมโครงการการใช้นวัตกรรมการเกษตรอัจฉริยะ (Smart Agriculture) ด้วยพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อยกระดับระบบการเลี้ยงปลาดุกลูกผสมอควาโปนิกส์ (Aquaponics)
KPI 1 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
20 คน 20
KPI 2 : ร้อยละของการบรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : อาชีพทางเลือกที่สร้างรายได้อีกช่องทางหนึ่งเพื่อพึ่งพาตนเองทางด้านอาหาร มีหลักประกันมั่นคงด้านอาชีพและดำรงชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 อาชีพ 1
KPI 5 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 7 : - ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.05 ล้านบาท 0.05
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมอบรมโครงการการใช้นวัตกรรมการเกษตรอัจฉริยะ (Smart Agriculture) ด้วยพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อยกระดับระบบการเลี้ยงปลาดุกลูกผสมอควาโปนิกส์ (Aquaponics)
ชื่อกิจกรรม :
การอบรมถ่ายทอดเทคโนโลยีการใช้นวัตกรรมการเกษตรอัจฉริยะ (Smart Agriculture) ด้วยพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อยกระดับระบบการเลี้ยงปลาดุกลูกผสมอควาโปนิกส์ (Aquaponics)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 27/11/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กมลวรรณ  ศุภวิญญู (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ยุทธนา  สว่างอารมย์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่)
จำนวน ..20... คน ๆ ละ .150.... บาท ..1..... มื้อ .....1... วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่)
จำนวน ..20... คน ๆ ละ ...35.. บาท ....2... มื้อ ....1.... วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,400.00 บาท 0.00 บาท 1,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย
จำนวน ....4....... ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท .....1..... คน ...1....... วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,400.00 บาท 0.00 บาท 2,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคปฏิบัติ
จำนวน .....3...... ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท ....2...... คน ......1.... วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน
จำนวน ....4.... คน ๆ ละ ..200..... บาท .....1... วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 800.00 บาท 0.00 บาท 800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น CD-ROM, Mouse, หมึกปริ้น และเมนบอร์ด ฯลฯ เป็นเงิน 1,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,000.00 บาท 0.00 บาท 1,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร เช่น ลูกพันธุ์ปลาดุกลูกผสม, เมล็ดพันธุ์ผักสลัด, วัตถุดิบทำอาหารปลา และสารเคมีรักษาโรคสัตว์น้ำ ฯลฯ เป็นเงิน 30,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 30,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุงานบ้านงานครัว เช่น ถังดำ ถุงหูหิ้ว น้ำยาทำความสะอาด แปรงขัด และ ฟองน้ำ ฯลฯ เป็นเงิน 2,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 2,400.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุก่อสร้าง เช่น ท่อน้ำ PVC, สายยาง, กาวทาท่อ PVC เลื่อย และ ตาข่าย ฯลฯ เป็นเงิน 5,700 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 5,700.00 บาท 0.00 บาท 5,700.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษสีชา ปากกา กระดาษ ค่าถ่ายเอกสาร ฯลฯ เป็นเงิน 1,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,500.00 บาท 0.00 บาท 1,500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 50000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
รายการเอกสารประกอบ
บก67-02
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล