20862 : โครงการ "ฐานเรียนรู้สารชีวภัณฑ์ สาขาเทคโนโลยีการผลิตพืช มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร"
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
อาจารย์ประสาทพร กออวยชัย (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/12/2566  ถึง  31/08/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  30  คน
รายละเอียด  นักเรียน นักศึกษา เกษตรกร
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณแผ่นดินโครงการบริการวิชาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 2567 50,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ประสาทพร  กออวยชัย
อาจารย์ ปิยนุช  จันทรัมพร
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 1.2 ความสำเร็จของการเป็นมหาวิทยาลัยแห่งชีวิต (GO. Eco U.)
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 1.2.1 ความสำเร็จของยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์ (Organic University)
กลยุทธ์ 67-70 MJU 1.2.1.1 กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่มหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์ที่ชัดเจน และขับเคลื่อนกิจกรรม รวมทั้งติดตามประเมินผลอย่างเป็นระบบ
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.3.1.2 ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.67 : 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.67 : 1.2 ความสำเร็จของการเป็นมหาวิทยาลัยแห่งชีวิต (GO.Eco U.)
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.67 : 1.2.1 ความสำเร็จของยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์ (Organic University)
กลยุทธ์ มจ.ชพ.67 : 3. กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่มหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์ที่ชัดเจน และขับเคลื่อนกิจกรรมรวมทั้งติดตามประเมินผลอย่างเป็นระบบ
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.67 : 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.67 : 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคมชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.67 : 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ มจ.ชพ.67 : 28. ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ชุดโครงการ ฐานการเรียนรู้สารชีวภัณฑ์ สาขาเทคโนโลยีการผลิตพืช มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ 100 ปี (2577) ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ และสนับสนุนงานของโครงการ Well-being@chumphon โดยกิจกรรมต่างๆที่เกิดขึ้นในโครงการเป็นกิจกรรมที่ดำเนินการทั้งในระบบต้นน้ำ กลางน้ำและปลายน้ำ ทุกกิจกรรมส่งเสริมให้ยุทธศาสตร์ 100 ปี (2577) ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ประสบความสำเร็จ และผลการดำเนินกิจกรรมทุกกิจกรรมในชุดโครงการจะตอบสนองความต้องการของเกษตรกรในพื้นที่ ช่วยส่งเสริมให้เกษตรกรในพื้นที่ผลิตพืชในระบบเกษตรอินทรีย์ ทำให้ปลอดภัยทั้งต่อผู้ผลิตและผู้บริโภค รักษาสภาพแวดล้อม การควบคุมแมลงศัตรูพืช โรคพืชโดยชีววิธีเป็นกรรมวิธีที่นำสิ่งที่มีอยู่ในธรรมชาติมาใช้ให้เกิดประโยชน์ โดยนำเอาแมลง เชื้อจุลชีพและสัตว์อื่น ๆ ที่มีอยู่แล้วในธรรมชาติมาช่วยกำจัดแมลงศัตรูพืช วิธีการนี้เป็นวิธีการดั้งเดิมซึ่งมนุษย์มีแนวความคิดที่จะใช้สิ่งที่มีประโยชน์ในธรรมชาติมาช่วยปราบแมลง ความรู้เก่าแก่ที่สุดในการดำเนินงานเริ่มต้นขึ้นมาในประเทศจีน โดยชาวจีนรู้จักนำเอามดตัวห้ำ (predatory ants) มาควบคุมแมลงบางชนิดในสวนส้ม และความรู้ในเรื่องการใช้ประโยชน์จากธรรมชาติมาควบคุมแมลงศัตรูพืชก็กว้างขวางออกไป และนับวันจะมีบทบาทมากขึ้นเมื่อมนุษย์สามารถนำเอาสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ มาใช้ให้เกิดประโยชน์มากขึ้น ซึ่งเป็นการลดการใช้ยาฆ่าแมลงทำให้ผลเสียที่จะเกิดขึ้นอันเนื่องมาจากการใช้ยาอย่างไม่ถูกต้องลดน้อยลง การควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธีจึงเป็นการใช้ประโยชน์ของศัตรูธรรมชาติที่สำคัญได้แก่ ตัวเบียน (parasites) ตัวห้ำ (predators) และเชื้อโรค (pathogens) ในการที่จะรักษาระดับความหนาแน่นของประชากรของแมลงศัตรูพืชชนิดใดชนิดหนึ่งให้อยู่ต่ำกว่าระดับที่จะทำให้อยู่ต่ำกว่าระดับที่จะทำให้เกิดความเสียหายต่อผลผลิต โครงการบริการวิชาการนี้ จะสอดคล้องกับกลยุทธ์การพัฒนา (Strategy) ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ในข้อที่ 7.พัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม ข้อที่ 8.พัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้และนวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อมและพลังงานทดแทน ข้อที่ 9.สร้างแม่โจ้ให้เป็นชุมชนสีเขียว(Green Society) ข้อที่ 10.สร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมแก่นักศึกษา บุคลากร และชุมชน ข้อที่ 11.พัฒนาพื้นที่ต้นแบบ "Green Campus" แบบครบวงจร งานบริการวิชาการเรื่องนี้ สอดคล้องกับแนวประราชดำริของพระเจ้าอยู่หัวฯ ในเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเน้นการพึ่งพาตนเอง เป็นแนวคิดที่ตั้งอยู่บนรากฐานของวัฒนธรรมไทย เป็นแนวทางการพัฒนาที่ตั้งบนพื้นฐานของทางสายกลาง และความไม่ประมาท คำนึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันในตัวเอง ตลอดจนใช้ความรู้และคุณธรรม เป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิต ที่สำคัญจะต้องมี “สติ ปัญญา และความเพียร” ซึ่งจะนำไปสู่ “ความสุข” ในการดำเนินชีวิตอย่างแท้จริง ยึดความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่ายในทุกด้าน ลดละความฟุ่มเฟือยในการใช้ชีวิต โครงการนำองค์ความรู้ การผลิตเชื้อไตรโคเดอร์มาเพื่อป้องกันโรครากเน่าโคนเน่า การผลิตเชื้อราเมธาไรเซียม เพื่อกำจัดด้วงแรด งานวิจัย : เปรียบเทียบการผลิตสปอร์ในเชื้อไตรโคเดอร์มาจากวัสดุปลูกที่ต่างกัน : เปรียบเทียบการผลิตสปอร์ในเชื้อเมธาไรเซียมจากวัสดุปลูกที่ต่างกัน : การใช้สารสกัดจากต้นเคี่ยมเพื่อใช้ในการป้องกันและกำจัดโรครากเน่าโคนเน่าในทุเรียน สอดคล้องกับ SDGs : SDG 1 No Poverty คำอธิบาย เป้าหมายที่ 1: ขจัดความยากจนทุกรูปแบบในทุกพื้นที่ (End poverty in all its forms everywhere) เป็นเป้าหมายที่ว่าด้วยการลดความยากจนทั้งทางเศรษฐกิจ และความยากจนในมิติอื่น ๆ ด้วย (ตามการนิยามของแต่ละประเทศ) ครอบคลุมคนทุกกลุ่ม ทั้งชาย หญิง เด็ก คนยากจน และกลุ่มคนเปราะบาง เป้าประสงค์ของเป้าหมายนี้ครอบคลุมประเด็นการ ยกระดับรายได้ของผู้คนให้สูงกว่า $1.25 ต่อวัน หรือประมาณ 37.78 บาท (1.1) และลดสัดส่วนของความยากจนในมิติต่างๆ ของ คนทุกกลุ่มให้เหลือครึ่งหนึ่งภายในปี 2573 (1.2) เน้นการใช้ระบบและมาตรการคุ้มครองทางสังคม (1.3) และการสร้าง หลักประกันในเรื่องสิทธิของการเข้าถึงทรัพยากรทางเศรษฐกิจ บริการพื้นฐาน รวมถึง กรรมสิทธิ์เหนือที่ดินและทรัพย์สิน (1.4) นอกจากนี้ยังให้ความสำคัญกับการสร้างภูมิต้านทานให้กับคนยากจนและเปราะบางจากภัยพิบัติต่าง ๆ ทั้งทางเศรษฐกิจสังคม และที่เกี่ยวข้องกับสภาพภูมิอากาศด้วย ในทางนโยบาย เป้าหมายนี้จะเน้นให้มีการช่วยเหลือกันระหว่างประเทศ โดยการระดม ทรัพยากรที่หลากหลายไปช่วยประเทศที่พัฒนาน้อยกว่า เพื่อลงทุนในโครงการที่ขจัดความยากจน (1.a) ให้นโยบายในระดับต่าง ๆ คำนึงถึงความละเอียดอ่อนด้านเพศสภาพและความยากจน

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อผลิตเชื้อไตรโคเดอร์มา เชื้อราเมธาไรเซียม และเชื้อบิวเวอเรีย เพื่อใช้ในระบบเกษตรอินทรีย์และในระบบเกษตรปลอดภัย
เพื่อการผลิตเชื้อไตรโคเดอร์มา เชื้อราเมธาไรเซียม และเชื้อบิวเวอเรีย เพื่อจำหน่ายในเชิงการค้า
เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ของนักศึกษา และใช้เป็นสถานที่สำหรับถ่ายทอดการผลิตสารชีวภัณฑ์สู่เกษตรกรที่สนใจ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : เชื้อไตรโคเดอร์มา เชื้อราเมธาไรเซียม และเชื้อบิวเวอเรีย
KPI 1 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.05 ล้านบาท 0.05
KPI 3 : เชื้อบิวเวอเรีย
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1000 ถุง 1000
KPI 4 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : จำนวนผู้เข้าเยี่ยมชมฐานเรียนรู้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 คน 100
KPI 6 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 7 : เชื้อไตรโคเดอร์มา
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1000 ถุง 1000
KPI 8 : ผลิตภัณฑ์สารชีวภัณฑ์ในเชิงการค้า
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
8 ชนิด 8
KPI 9 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 10 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 คน 30
KPI 11 : เชื้อเมธาไรเซียม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1000 ถุง 1000
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : เชื้อไตรโคเดอร์มา เชื้อราเมธาไรเซียม และเชื้อบิวเวอเรีย
ชื่อกิจกรรม :
การผลิตสารชีวภัณฑ์ ไตรโคเดอร์มา เมธาไรเซียม บิววาเรีย

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/01/2567 - 30/06/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ประสาทพร  กออวยชัย (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ปิยนุช  จันทรัมพร (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร เช่น หัวเชื้อเมธาไรเซียม หัวเชื้อไตรโคเดอร์มา หัวเชื้อบิวเวอเรีย ฯลฯ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 30,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 30000.00
ชื่อกิจกรรม :
การออกแบบบรรจุภัณฑ์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/01/2567 - 31/07/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ประสาทพร  กออวยชัย (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ปิยนุช  จันทรัมพร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษA4 กระดาษสติ๊กเกอร์ ฯลฯ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 5,800.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกพิมพ์ (แบบไม่ละลายน้ำ) ฯลฯ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 7,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,600.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 13400.00
ชื่อกิจกรรม :
การอบรมการผลิตสารชีวภัณฑ์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/01/2567 - 31/08/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ประสาทพร  กออวยชัย (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ปิยนุช  จันทรัมพร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 30 คนๆ ละ 1 มื้อๆละ 150 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 4,500.00 บาท 0.00 บาท 4,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 30 คนๆ ละ 2 มื้อๆ ละ 35 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,100.00 บาท 0.00 บาท 2,100.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 6600.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มี
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
-
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
การผลิตสารชีวภัณฑ์
ช่วงเวลา : 01/12/2566 - 31/05/2567
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล