20859 : โครงการพัฒนาทักษะนักศึกษา 5 ด้าน ประจำปี 2567 (โครงการปรับพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ )
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
อาจารย์วิชชุดา เอื้ออารี (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 16/11/2566 15:58:53
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/06/2567  ถึง  31/08/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  20  คน
รายละเอียด  นักศึกษา ชั้นปีที่1
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน โครงการไม่ใช้งบประมาณ 2567 0.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ วิชชุดา  เอื้ออารี
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.1.9 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการ พัฒนาพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.1.9.1 ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และส่งเสริม อัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัยสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.67 : 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.67 : 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.67 : 2.1.9 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลกด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ มจ.ชพ.67 : 19. ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และส่งเสริมอัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัยสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและภาษาอังกฤษ เป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งในการพัฒนาประเทศ นักวิทยาศาสตร์ต้องเป็นบุคคลที่มีนิสัยชอบค้นคว้าหาความรู้คิดหาวิธีการทดลองเพื่อหาวิธีการแก้ปัญหาต่างๆอยู่เสมอซึ่งคุณลักษณะเหล่านี้ควรได้รับการปลูกฝังตั้งแต่อยู่ในวัยศึกษาอย่างต่อเนื่องเพื่อสั่งสมจนเป็นลักษณะประจำตัวไปจนถึงผู้ใหญ่ อีกทั้งธรรมชาติที่อยู่รอบตัวเรา ล้วนเป็นศาสตร์ต่างๆ ในเชิงวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ทั้งสิ้น ตั้งแต่อากาศ การเกิดพายุ ฝน ฟ้าร้อง ฟ้าผ่า ดวงดาวบนท้องฟ้า รวมไป ถึงเครื่องอำนวยความสะดวกในอาคารบ้านเรือน เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้า เตาไมโครเวฟ เครื่องปรับอากาศ ตลอดจนถึงการสื่อสารและการคมนาคมขนส่ง ตั้งแต่วิทยุ โทรทัศน์ โทรศัพท์ ดาวเทียม รถยนต์ เครื่องบิน จ หรือแม้กระทั่ง งานทางการแพทย์ การทหาร อุตสาหกรรม วงการบันเทิง และการศึกษา ได้แก่ แสง เสียง สี คอมพิวเตอร์ ล้วนอาศัยความรู้ฟิสิกส์ทั้งสิ้น นับตั้งแต่ความรู้พื้นฐานด้านกลศาสตร์ ความร้อน ไฟฟ้า แสง เสียง คลื่น แม่เหล็กไฟฟ้า ทุกสาขาล้วนได้ใช้ความรู้ทางฟิสิกส์ ช่วย วางแผน วิเคราะห์ แก้ปัญหา ตลอดจนถึงความรู้ฟิสิกส์ยุคใหม่ และฟิสิกส์ก้าวหน้าซึ่งศึกษาลึกลงถึงระดับอนุภาค ในระดับนาโน โดยมีการบูรณาการเข้ากับ ศาสตร์อื่นๆ ทำให้เกิดฟิสิกส์สาขาที่หลากหลายขึ้น เช่น ดาราศาสตร์ ฟิสิกส์-เลเซอร์ ฟิสิกส์นิวเคลียร์ ฟิสิกส์นาโน รวมถึงวัสดุศาสตร์ ซึ่งล้วนแต่ เป็นแหล่งกำเนิดเทคโนโลยีใหม่ๆ ทั้งในปัจจุบันและในอนาคต

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อพัฒนาทักษะด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ของนักศึกษา ตามแบบในศตวรรษที่ 21
เพื่อเป็นการปรับพื้นฐานในรายวิชาด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ตามแบบในศตวรรษที่ 21
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : นักศึกษามีความรู้พื้นฐานทางด้านทักษะด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ของนักศึกษา ตามแบบในศตวรรษที่ 21
KPI 1 : จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
20 คน 20
KPI 2 : นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ ทางด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
70 ร้อยละ 70
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : นักศึกษามีความรู้พื้นฐานทางด้านทักษะด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ของนักศึกษา ตามแบบในศตวรรษที่ 21
ชื่อกิจกรรม :
จัดอบรมให้ความรู้ด้านคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ให้กับนักศึกษา

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/05/2567 - 31/08/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์วิชชุดา  เอื้ออารี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ฐิระ  ทองเหลือ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์พัชรินทร์  วิริยะสุขสวัสดิ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.จักรกฤช  ณ นคร (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์นาตาลี อาร์  ใจเย็น (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.พิไลวรรณ  พู่พัฒนศิลป์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่เบิกค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
-
ทักษะ ความรู้พื้นฐานด้านวิทยาศาสตรต์-คณิตศาสตร์ของนักศึกษาชั้นปีที่1 ที่ส่งผลต่อการเรียนในระดับชั้นปริญญาตรี
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
-
ทักษะ ทำการตรวจสอบและคัดเลือกคุณสมบัติด้านความรู้พื้นฐานด้านวิทยาศาสตรต์-คณิตศาสตร์ของนักศึกษาชั้นปีที่1 ให้สอดคล้องกับสาขาที่เลือกเรียน
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
การคำณวนการทดลองทางฟิสิกส์
ช่วงเวลา : 01/05/2567 - 31/08/2567
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล