20850 : โครงการ "ปลูกผักแลกค่าเทอม"
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
อาจารย์ปณิดา กันถาด (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 4/12/2566 14:42:26
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
20/11/2566  ถึง  30/08/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  30  คน
รายละเอียด  นักศึกษาสาขาพืชศาสตร์และสาขาวิชาอื่นๆ ที่สนใจ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน ไม่เบิกค่าใช้จ่าย 2567 0.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ปณิดา  กันถาด
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.1.9 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการ พัฒนาพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.1.9.1 ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และส่งเสริม อัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัยสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 4. การพลิกโฉมสู่การเป็นมหาวิทยาลัยกลุ่มที่ 2 (Reinventing University)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 4.1 เป็นมหาวิทยาลัยด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างวัตกรรม (Technology Development and Innovation)
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 4.1.1 นักศึกษาและบัณฑิตผู้ประกอบการ ที่ได้รับการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 4.1.1.1 สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้สามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดเป็นนวัตกรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.67 : 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.67 : 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.67 : 2.1.9 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลกด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ มจ.ชพ.67 : 19. ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และส่งเสริมอัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัยสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.67 : 4. การพลิกโฉมสู่การเป็นมหาวิทยาลัยกลุ่มที่ 2 (Reinventing)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.67 : 4.1 เป็นมหาวิทยาลัยด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม (Technology Development and Innovation)
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.67 : 4.1.1 นักศึกษาและบัณฑิตผู้ประกอบการ ที่ได้รับการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ มจ.ชพ.67 : 45. สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้สามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดเป็นนวัตกรรม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

โครงการปลูกผักแลกค่าเทอม เป็นโครงการที่ถูกสร้างเพื่อพัฒนานักศึกษาและผู้ที่มีความสนใจในการปลูกพืชเพื่อประสงค์ในการทำการค้าและการบริโภคในครัวเรือนโดยโครงการจะเน้นไปที่พืชที่มีมูลค่าสูง เนื่องจากเป็นพืชที่ต้องนำเข้าจากต่างพื้นที่จึงทำให้มีราคาแพงเป็นพืชที่มีความต้องการในพื้นที่สูง เนื่องจากเป็นพื้นที่ที่มีการท่องเที่ยวและร้านอาหารโรงแรมจึงมองเห็นถึงโอกาสที่เกษตรกรจะมีการพัฒนาการปลูกพืชที่มีอยู่ให้เป็นพืชปลอดภัย แต่อันเนื่องมาจากในการผลิตพืชปลอดภัยจำเป็นต้องอาศัยทักษะและความชำนาญ เพื่อให้ประสบความสำเร็จในการผลิตพืชดังกล่าว โดยคณะผู้จัดทำโครงการได้น้อมรับโครงการพระราชดำริซึ่งมีแนวทางในการปฏิบัติเรื่องความยั่งยืนทางภาคการเกษตรเพื่อให้เกษตรกรได้มีทางเลือกในการผลิตพืชที่มีความยั่งยืนและมีความปลอดภัยทั้งใช้ในการบริโภคในครัวเรือนและการค้าทั้งนี้ยังมีพืชที่เป็นพืชที่มีปริมาณการใช้สูงมากในท้องถิ่นก็คือผักสลัดแม้จะไม่ใช่พืชที่มีต้นกำเนิดในท้องถิ่นเขตภาคใต้แต่ก็มีปริมาณการใช้ที่สูงมากเนื่องจากเป็นพื้นที่ในเขตการท่องเที่ยวดังนั้นเกษตรกรจึงมีแนวทางในการประกอบอาชีพเพิ่มเติมทำให้เกิดความยั่งยืนในชุมชนในท้องถิ่นและทำให้ชีวิตของเกษตรกรมีรายได้ที่เพิ่มมากขึ้นซึ่งหมายถึงความยั่งยืนของท้องถิ่นนั่นเอง

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อการส่งเสริมและพัฒนาทักษะความชำนาญในการปลูกพืชเพื่อการค้า
เพื่อส่งเสริมความสามารถของนักศึกษาในการริเริ่มการค้าสินค้าเกษตร
เพื่อการกระจายสินค้าที่มีคุณภาพให้กับชุมชน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : การผลิตพืชปลอดภัยเพื่อขายแก่ชุมชน คือ การให้นักศึกษาดำเนินการปลูกพืชตามคำแนะนำ ในพื้นที่ของมหาวิทยา และ การนำผลผลิตขายสู่ชุมชน
KPI 1 : ตัวชี้วัดที่ 1 นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 20 คน 30
KPI 2 : ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละความพึงพอใจของนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : การผลิตพืชปลอดภัยเพื่อขายแก่ชุมชน คือ การให้นักศึกษาดำเนินการปลูกพืชตามคำแนะนำ ในพื้นที่ของมหาวิทยา และ การนำผลผลิตขายสู่ชุมชน
ชื่อกิจกรรม :
1. การให้นักศึกษาดำเนินการปลูกพืชตามคำแนะนำ ในพื้นที่ของมหาวิทยาลัย

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 20/11/2566 - 30/08/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ปณิดา  กันถาด (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่เบิกค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
ชื่อกิจกรรม :
2 : การนำผลผลิตขายสู่ชุมชน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 27/01/2567 - 30/08/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ปณิดา  กันถาด (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่เบิกค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
รายการเอกสารประกอบ
โครงการปลูกผักแลกค่าเทอม
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล