20844 : โครงการ "การส่งเสริมและพัฒนาทักษะทางด้านการเป็นผู้ประกอบการในยุคดิจิทัล ประจำปี 2567"
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
อาจารย์ฉัตรนลิน แก้วสม (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 14/12/2566 11:03:18
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการพัฒนากิจกรรมนักศึกษา (เบิกจ่ายจากงบพัฒนากิจกรรมนักศึกษา)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/12/2566  ถึง  31/08/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  20  คน
รายละเอียด  นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการสำหรับผู้ประกอบการ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบพัฒนานักศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 2567 5,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ฉัตรนลิน  แก้วสม
อาจารย์ ดร. ชรินทร  ศรีวิฑูรย์
อาจารย์ ดร. ฉันทวรรณ  เอ้งฉ้วน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศุทธิกานต์  คงคล้าย
อาจารย์ ดร. ฐิติมา  ศรีพร
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการสื่อสารองค์กร
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.1.9 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการ พัฒนาพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.1.9.1 ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และส่งเสริม อัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัยสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 4. การพลิกโฉมสู่การเป็นมหาวิทยาลัยกลุ่มที่ 2 (Reinventing University)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 4.1 เป็นมหาวิทยาลัยด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างวัตกรรม (Technology Development and Innovation)
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 4.1.1 นักศึกษาและบัณฑิตผู้ประกอบการ ที่ได้รับการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 4.1.1.1 สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้สามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดเป็นนวัตกรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.67 : 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.67 : 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.67 : 2.1.9 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลกด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ มจ.ชพ.67 : 19. ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และส่งเสริมอัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัยสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.67 : 4. การพลิกโฉมสู่การเป็นมหาวิทยาลัยกลุ่มที่ 2 (Reinventing)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.67 : 4.1 เป็นมหาวิทยาลัยด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม (Technology Development and Innovation)
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.67 : 4.1.1 นักศึกษาและบัณฑิตผู้ประกอบการ ที่ได้รับการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ มจ.ชพ.67 : 45. สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้สามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดเป็นนวัตกรรม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพรได้น้อมนำพระราชดำริหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มาเป็นแนวทางในการเขียนแผนธุรกิจร่วมกับชุมชน ซึ่งคล้องกับการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา5 ด้าน ได้แก่ คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสำคัญระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ และทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และสามารถสร้างผลตอบแทนที่ดีได้อย่างยั่งยืนให้กับชุมชน โดยได้ให้ความสำคัญกับการดำเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม (Corporate Social Responsibility : CSR) มุ่งหวังที่จะให้นักศึกษาเป็นคนที่เก่งและดี มีความรู้ คู่คุณธรรม และรู้จักน้อมนำแนวคิดหลักเศรษฐกิจพอเพียงไปเป็นหลักในการดำเนินชีวิตและขยายผลไปสู่ครอบครัว รวมทั้งชุมชนต่อไปในการร่วมตอกย้ำการบริหารธุรกิจด้วยความโปร่งใส ซื่อสัตย์สุจริตการเปิดเผยข้อมูล และตรวจสอบได้ตามหลักบรรษัทภิบาล (Corporate Governance) ในโครงการนี้ นักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการจัดการสำหรับผู้ประกอบการ ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร จะได้อบรมทักษะเกี่ยวกับการพัฒนาการเป็นผู้ประกอบการ การตลาดดิจิทัล ในรูปแบบออนไลน์ผ่านช่องทาง Zoom Meeting และพัฒนาทักษะการเขียนแผนธุรกิจ พร้อมลงพื้นที่ดำเนินโครงการจริงโดยเป็นการบูรณาการการทำงานร่วมกันของคณาจารย์ในสาขาวิชาการจัดการสำหรับผู้ประกอบการ ผ่านรายวิชาต่างๆ เช่น กก422 สัมมนาทางบริหารธุรกิจ (ผศ.ดร.ศุทธิกานต์ คงคล้าย) กก411 การจัดการเชิงกลยุทธ์(อ.ดร.ฉันทวรรณ เอ้งฉ้วน) กก333 การวิเคราะห์และทำแผนธุรกิจสำหรับผู้ประกอบการ (อ.ดร.ชรินทร ศรีวิฑูรย์) กก101 ธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ (อ.ฉัตรนลิน แก้วสม) กก231 ทุนมนุษย์ในการประกอบการ(อ.ดร.ฐิติมา ศรีพร) เป็นต้น เพื่อชุมชนจะได้มีความรู้และสามารถนำไปเขียนแผนธุรกิจเพื่อเสนอของบประมาณตามองค์กรหรือหน่วยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชนได้ต่อไปในอนาคต

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อปลูกฝังความรู้ความเข้าใจแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงและจริยธรรมทางธุรกิจ ให้เป็นแนวทางในการบริหารจัดการองค์กรและดำเนินธุรกิจ โดยผ่านกระบวนการการวิเคราะห์และสังเคราะห์ความรู้ให้กับนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทาลัยแม่โจ้-ชุมพร
เพื่อเป็นการแสดงออกถึงการให้ความสำคัญกับการดำเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบ ต่อสังคม (Corporate Social Responsibility : CSR) โดยมุ่งเน้นการให้บริการวิชาการแก่ชุมชน ตามพันธกิจหลักของมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ส่งเสริมให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมร่วมกับชุมชน และองค์กรต่างๆและพัฒนาศักยภาพนักศึกษา5 ด้าน ได้แก่ คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ทักษะทางปัญญา ทักษะความสำคัญระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ และทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ตลอดจนเป็นผู้เสียสละบำเพ็ญประโยชน์ต่อชุมชนและสังคม
ปลูกฝังให้นักศึกษามีจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และสนับสนุนพฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑ์สีเขียว รวมทั้งมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อน Roadmap ในการพัฒนามหาวิทยาลัย (Organic/Green/Eco)
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : นักศึกษาสาขาการจัดการสำหรับผู้ประกอบการ ได้รับองค์ความรู้ ทักษะด้านการเป็นผู้ประกอบการยุคใหม่ในยุคดิจิทัล
KPI 1 : นักศึกษาสาขาการจัดการสำหรับผู้ประกอบการ ได้รับ องค์ความรู้ ทักษะด้านการเป็นผู้ประกอบการยุคใหม่ใน ยุคดิจิทัล
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
20 คน 20
KPI 2 : ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมอบรม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
ผลผลิต : นักศึกษาสาขาการจัดการ สำหรับผู้ประกอบการได้รับองค์ความรู้ ทักษะ ด้านการตลาดดิจิทัล
KPI 1 : ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมอบรม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : นักศึกษาสาขาการจัดการสำหรับผู้ประกอบการได้รับ องค์ความรู้ ทักษะด้านการตลาดดิจิทัล
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
20 คน 20
ผลผลิต : นักศึกษาสาขาการจัดการสำหรับผู้ประกอบการได้รับองค์ความรู้ ทักษะด้านการเขียนแผนธุรกิจ
KPI 1 : ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : นักศึกษาสาขาการจัดการสำหรับผู้ประกอบการได้รับองค์ความรู้ ทักษะด้านการเขียนแผนธุรกิจ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
20 คน 20
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : นักศึกษาสาขาการจัดการสำหรับผู้ประกอบการ ได้รับองค์ความรู้ ทักษะด้านการเป็นผู้ประกอบการยุคใหม่ในยุคดิจิทัล
ชื่อกิจกรรม :
อบรมทักษะการเป็นผู้ประกอบการยุคใหม่ในยุคดิจิทัล ด้วยระบบออนไลน์ ผ่านระบบ Ms-teams และ Zoom

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/04/2566 - 30/06/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ฉัตรนลิน  แก้วสม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ฐิติมา  ศรีพร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 1 คนๆ ละ 3 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ A4 , ดินสอ , ปากกาไวท์บอร์ด , ลวดเสียบกระดาษ ฯลฯ เป็นเงิน 3,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,200.00 บาท 0.00 บาท 3,200.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 5000.00
ผลผลิต : นักศึกษาสาขาการจัดการ สำหรับผู้ประกอบการได้รับองค์ความรู้ ทักษะ ด้านการตลาดดิจิทัล
ชื่อกิจกรรม :
อบรมการตลาดดิจิทัล

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/04/2567 - 30/06/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ฉันทวรรณ  เอ้งฉ้วน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศุทธิกานต์  คงคล้าย (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่เบิกค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
ผลผลิต : นักศึกษาสาขาการจัดการสำหรับผู้ประกอบการได้รับองค์ความรู้ ทักษะด้านการเขียนแผนธุรกิจ
ชื่อกิจกรรม :
พัฒนาทักษะการเขียนแผนธุรกิจ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/04/2567 - 30/06/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ชรินทร  ศรีวิฑูรย์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่เบิกค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
การได้รับความสนใจจากนักศึกษาในการเข้าร่วมรับฟังการอบรมพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการ
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
กำหนดในรายวิชาเรียนให้มีกิจกรรมการอบรมทักษะด้านการเป็นผู้ประกอบการในยุคดิจิทัลครบทุกด้าน
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
การบูรณาการการทำงานร่วมกันของคณาจารย์ในสาขาวิชาการจัดการสำหรับผู้ประกอบการ ผ่านรายวิชาต่างๆ เช่น กก422 สัมมนาทางบริหารธุรกิจ (ผศ.ดร.ศุทธิกานต์ คงคล้าย) กก411 การจัดการเชิงกลยุทธ์(อ.ดร.ฉันทวรรณ เอ้งฉ้วน) กก333 การวิเคราะห์และทำแผนธุรกิจสำหรับผู้ประกอบการ (อ.ดร.ชรินทร ศรีวิฑูรย์) กก101 ธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ (อ.ฉัตรนลิน แก้วสม) กก231 ทุนมนุษย์ในการประกอบการ(อ.ดร.ฐิติมา ศรีพร)
ช่วงเวลา : 01/12/2566 - 31/08/2567
ตัวชี้วัด
2.6 ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน
2.7 ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิผลการเรียนตามคุณลักษณะของบัณฑิต
2.8 ระดับความสำเร็จของการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมที่จัดให้กับนักศึกษา
3.2 ระบบและกลไกการส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา
การบูรณาการ
วัตถุประสงค์การบูรณาการผลการประเมินการนำผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการ
โครงการนี้ นักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการจัดการสำหรับผู้ประกอบการ ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร จะได้อบรมทักษะเกี่ยวกับการพัฒนาการเป็นผู้ประกอบการ การตลาดดิจิทัล ในรูปแบบออนไลน์ผ่านช่องทาง Zoom Meeting และพัฒนาทักษะการเขียนแผนธุรกิจ พร้อมลงพื้นที่ดำเนินโครงการจริงโดยเป็นการบูรณาการการทำงานร่วมกันของคณาจารย์ในสาขาวิชาการจัดการสำหรับผู้ประกอบการ 80 พัฒนาทักษะการเขียนแผนธุรกิจ พร้อมลงพื้นที่ดำเนินโครงการจริงโดยเป็นการบูรณาการการทำงานร่วมกันของคณาจารย์ในสาขาวิชาการจัดการสำหรับผู้ประกอบการ ผ่านรายวิชาต่างๆ เช่น กก422 สัมมนาทางบริหารธุรกิจ (ผศ.ดร.ศุทธิกานต์ คงคล้าย) กก411 การจัดการเชิงกลยุทธ์(อ.ดร.ฉันทวรรณ เอ้งฉ้วน) กก421 การวิจัยธุรกิจ (อ.ดร.ชรินทร ศรีวิฑูรย์) กก101 ธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ (อ.ฉัตรนลิน แก้วสม) กก231 ทุนมนุษย์ในการประกอบการ(อ.ดร.ฐิติมา ศรีพร)
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล