20836 : โครงการ "การวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนสำหรับผู้ประกอบการในยุคเศรษฐกิจ “นิว นอร์มอล” (New Normal)"
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
อาจารย์ ดร.ชรินทร ศรีวิฑูรย์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 15/11/2566 9:48:06
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/01/2567  ถึง  31/03/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  30  คน
รายละเอียด  นักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน ไม่เบิกค่าใช้จ่าย ปีงบประมาณ 2567 2567 0.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. ชรินทร  ศรีวิฑูรย์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 4. การพลิกโฉมสู่การเป็นมหาวิทยาลัยกลุ่มที่ 2 (Reinventing University)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 4.1 เป็นมหาวิทยาลัยด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างวัตกรรม (Technology Development and Innovation)
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 4.1.1 นักศึกษาและบัณฑิตผู้ประกอบการ ที่ได้รับการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 4.1.1.1 สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้สามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดเป็นนวัตกรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.67 : 4. การพลิกโฉมสู่การเป็นมหาวิทยาลัยกลุ่มที่ 2 (Reinventing)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.67 : 4.1 เป็นมหาวิทยาลัยด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม (Technology Development and Innovation)
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.67 : 4.1.1 นักศึกษาและบัณฑิตผู้ประกอบการ ที่ได้รับการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ มจ.ชพ.67 : 45. สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้สามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดเป็นนวัตกรรม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

การวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนสำหรับผู้ประกอบการ มักถูกนำมาใช้เป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์ฐานะทางการเงินและผลการดำเนินงานของกิจการอยู่เสมอ ดังนั้นการตระหนักถึงประเด็นสำคัญที่ควรให้ความสนใจเมื่อต้องการใช้ข้อมูลในการวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทน ข้อจำกัดในการใช้ สัญญาณเตือนภัยเกี่ยวกับความเสี่ยงที่เกิดขึ้น ตลอดจนการตกแต่งงบการเงินน่าจะทำให้ผู้ประกอบการสามารถตัดสินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในยุคเศรษฐกิจ “นิว นอร์มอล” (New Normal) ถูกนำมาใช้ครั้งแรกโดยบิลล์ กรอส (Bill Gross) ผู้ก่อตั้งบริษัทบริหารสินทรัพย์ชาวอเมริกัน โดยตอนนั้นเขาใช้อธิบายถึงสภาวะเศรษฐกิจโลก หลังจากเกิดวิกฤติเศรษฐกิจแฮมเบอร์เกอร์ ในสหรัฐฯ ช่วงระหว่างปี 2007-2009 สาเหตุที่ต้องใช้คำว่า “นิว นอร์มอล” (New Normal) เพราะเดิมทีวิกฤติเศรษฐกิจจะมีรูปแบบค่อนข้างตายตัวและเป็นวงจรเดิม คือเมื่อเศรษฐกิจเติบโตไปได้ช่วงระยะหนึ่ง จะมีปัจจัยที่ทำให้เกิดเป็นวิกฤติทางเศรษฐกิจ และหลังจากเกิดวิกฤติเศรษฐกิจ ไม่นานเศรษฐกิจก็จะเริ่มฟื้นตัว แล้วก็กลับมาเติบโตได้ดีอีกครั้ง สิ่งเหล่านี้คือสิ่งที่เกิดขึ้นเป็นปกติ จนเรียกได้ว่าเป็น ‘เรื่องปกติ’ (Normal) ก็ได้ ในตอนนี้ที่โลกเกิดวิกฤติโควิด-19 คำว่า “นิว นอร์มอล” (New Normal) ถูกหยิบมาใช้อีกครั้งแต่ขยายวงออกไปในทุกวงการไม่ว่าจะเป็นภาคเศรษฐกิจ ธุรกิจ การศึกษา ชีวิตประจำวัน หรือ ภาคสังคม อะไรก็ตามที่เป็นเรื่องเกิดใหม่หลังโควิด-19 วิถีชีวิตแบบใหม่ก็จะถูกเรียกว่า “นิว นอร์มอล” (New Normal) สอดคล้องกับมหาวิทยาลัยแม่โจ้ได้มีนโยบายผลิตบัณฑิตเพื่อให้มีทักษะการเป็นผู้ประกอบการในทุกสาขาวิชา จึงได้จัดเตรียมโครงการ “การวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนสำหรับผู้ประกอบการในยุคเศรษฐกิจ “นิว นอร์มอล” (New Normal)” เพื่อฝึกให้นักศึกษาพร้อมออกไปเป็นผู้ประกอบการ และผู้ที่เริ่มต้นกิจการซึ่งอาจขาดความชำนาญด้านการวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทน ได้เรียนรู้ สามารถอ่าน ทำความเข้าใจและวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนได้อย่างถูกต้อง เพื่อสามารถนำไปใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดเอาไว้

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อให้ผู้เข้าการอบรมได้พัฒนาทักษะ ความเข้าใจ การสื่อความหมายด้านการวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนได้อย่างมีประสิทธิภาพและสามารถนำไปใช้เป็นเครื่องมือในการควบคุมประสิทธิภาพการบริหารกิจการได้
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : เสริมสร้างความเป็นผู้ประกอบการให้นักศึกษาและบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
KPI 1 : ร้อยละความพึงพอของผู้เข้าร่วมอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : นักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 คน 30
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : เสริมสร้างความเป็นผู้ประกอบการให้นักศึกษาและบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ชื่อกิจกรรม :
อบรมการวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนสำหรับผู้ประกอบการในยุคเศรษฐกิจ “นิว นอร์มอล” (New Normal)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/01/2567 - 31/03/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ชรินทร  ศรีวิฑูรย์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่เบิกงบประมาณ ปี 2567
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
การได้รับความสนใจจากนักศึกษาในการเข้าร่วมรับฟังการอบรมเพื่อสร้างความพร้อมในการเป็นผู้ประกอบการ
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
บูรณาการร่วมกับรายวิชาเรียนของนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนได้ เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาพัฒนาหัวข้อวิจัยที่ต่อยอดจากรายวิชา กก324 การวิเคราะห์ข้อมูลทางธุรกิจ
ช่วงเวลา : 20/11/2566 - 31/03/2567
ตัวชี้วัด
5.2 กระบวนการบริการทางวิชาการให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล