20834 : โครงการ "การพัฒนาฐานการเรียนรู้เชิงแปลงสาธิตปลูกพืชสวนผสมผสานตามวิถีเกษตรยั่งยืน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร"
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
อาจารย์ ดร.จิระศักดิ์ วิชาสวัสดิ์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
18/01/2567  ถึง  18/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  30  คน
รายละเอียด  1. ผู้เข่าร่วมอบรม (เกษตกร ประชาชน นักเรียน นักศึกษา) จำนวน 30 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน โครงการไม่ใช้งบประมาณ 2567 0.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. จิระศักดิ์  วิชาสวัสดิ์
อาจารย์ วีรชัย  เพชรสุทธิ์
อาจารย์ ดร. ณัชพัฒน์  สุขใส
อาจารย์ ดร. พิไลวรรณ  พู่พัฒนศิลป์
อาจารย์ ดร. ฐิติมา  ศรีพร
อาจารย์ พัชรินทร์  วิริยะสุขสวัสดิ์
อาจารย์ วิชชุดา  เอื้ออารี
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 1.2 ความสำเร็จของการเป็นมหาวิทยาลัยแห่งชีวิต (GO. Eco U.)
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 1.2.1 ความสำเร็จของยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์ (Organic University)
กลยุทธ์ 67-70 MJU 1.2.1.1 กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่มหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์ที่ชัดเจน และขับเคลื่อนกิจกรรม รวมทั้งติดตามประเมินผลอย่างเป็นระบบ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.67 : 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.67 : 1.2 ความสำเร็จของการเป็นมหาวิทยาลัยแห่งชีวิต (GO.Eco U.)
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.67 : 1.2.1 ความสำเร็จของยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์ (Organic University)
กลยุทธ์ มจ.ชพ.67 : 3. กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่มหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์ที่ชัดเจน และขับเคลื่อนกิจกรรมรวมทั้งติดตามประเมินผลอย่างเป็นระบบ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

แนวพระราชดำรัสและโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ ในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ที่เกี่ยวกับเกษตรทฤษฎีใหม่และเศรษฐกิจพอเพียงเป็นส่วนสำคัญแห่งรากฐานในการพัฒนาระบบการเกษตรที่ยั่งยืนและสำคัญต่อการพัฒนาการเกษตรของประเทศไทย ซึ่งแนวทางเกษตรทฤษฎีใหม่ เป็นการปลูกพืชแบบผสมผสานเพื่อสร้างรายได้อย่างมั่นคง ยั่งยืน สำหรับระบบเกษตรผสมผสานเป็นรูปแบบหนึ่งของระบบเกษตรกรรมที่มีกิจกรรมตั้งแต่ 2 กิจกรรมขึ้นไปในพื้นที่เดียวกัน และกิจกรรมเหล่านี้จะมีการเกื้อกูลประโยชน์ซึ่งกันและกันไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง ดังนั้น จึงเป็นระบบที่นำไปสู่ การเกษตร แบบยั่งยืน จึงก่อให้เกิดผลดีและประโยชน์ในด้านต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ 1) ลดความเสี่ยงจากความแปรปรวนของสภาพลม ฟ้า อากาศ 2) ลดความเสี่ยงจากความผันแปรของราคาผลผลิต ในการดำเนินระบบการเกษตรที่มีเพียงกิจกรรมเดียว 3) ลดความเสี่ยงจากการระบาดของศัตรูพืช ในการดำเนินกิจกรรมการปลูกพืชเพียงอย่างเดียว เกษตรกรจะมีความเสี่ยงอย่างมากเมื่อเกิดการระบาดของศัตรูพืชขึ้น 4) ช่วยเพิ่มรายได้และกระจายรายได้ตลอดปี การดำเนินระบบเกษตรผสมผสานซึ่งมีกิจกรรมหลายกิจกรรม ในพื้นที่เดียวกัน 5) ช่วยก่อให้เกิดความหลากหลายทางชีวพันธุ์ มีพืชพรรณที่หลากหลายในพื้นที่เดียวกัน 6)ช่วยกระจายการใช้แรงงาน ลดปัญหาการเคลื่อนย้ายแรงงานออกนอกภาคการเกษตร ลดปัญหาการว่างงาน 7)ช่วยก่อให้เกิดการหมุนเวียน ของกิจกรรมต่าง ๆ ในระดับไร่ เป็นการช่วยอนุรักษ์ทรัพยากรในระดับไร่นาและสวนไม้ผล ไม่ให้เสื่อมสลายหรือถูกใช้ให้หมดไปอย่างรวดเร็ว 8) ช่วยให้เกษตรกรมีอาหารเพียงพอต่อการบริโภคภายในครัวเรือน 9) ช่วยทำให้คุณภาพชีวิตของเกษตรกรดีขึ้น ลดค่าใช้จ่ายในเรื่องปัจจัยการผลิต เกษตรกรรมเป็นรากฐานของมนุษยชาติ การเกษตรกรรมมีความสำคัญดังนี้ 1) การเกษตรก่อให้เกิดปัจจัยสี่ที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ 2) การเกษตรเป็นฐานรากทำให้เกิดอาชีพอื่น ๆ ตามมา ได้แก่ อาชีพค้าขาย โรงงานอุตสาหกรรมเกษตร การคมนาคมและการขนส่ง เป็นต้น 3) สินค้าเกษตรเป็นสินค้าที่ทำรายได้ให้กับประเทศ 4) การเกษตรช่วยให้ประชาชนมีงานทำตลอดทั้งปี 5) การเกษตรเป็นการใช้ที่ดินที่รกร้างว่างเปล่าให้เกิดประโยชน์ 6) การเกษตรช่วยทำให้เกิดความเพลิดเพลินและรักษาสิ่งแวดล้อม เช่น ปลูกไม้ดอกไม้ประดับ การปลูกพืชผักสวนครัวในชุมชน เป็นต้น ในการทำการเกษตรของเกษตรกร ปัจจัยสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อเกษตรกรคือ ราคาปัจจัยการผลิต ซึ่งมีราคาสูงขึ้นเรื่อยๆ ในขณะที่ผลผลิตที่เกษตรกรได้รับยังมีราคาไม่แน่นอน เกษตรกรจึงต้องมีการวางแผนการผลิตอย่างมีประสิทธิภาพ และต้องใช้วิธีการผลิตที่ลดต้นทุน ในขณะเดียวกันก็ต้องรักษาคุณภาพของผลผลิตด้วย ในการทำการเกษตร เกษตรส่วนใหญ่ยังมีต้นทุนในการผลิตสูง เนื่องจากเกษตรกรต้องซื้อปุ๋ยและต้นแม่พันธุ์จากตลาด หากเกษตรกรมีการปลูกพืชแบบผสมผสานหรือปลูกพืชแซมในพื้นที่เกษตร เช่น สวนทุเรียน สวนมังคุด สวนยางพารา จะช่วยให้เพิ่มรายได้จากการจำหน่ายสินค้าเกษตรมากยิ่งขึ้น และใช้พื้นที่ดินทำการเกษตรอย่างคุ้มต่อการลงทุน จังหวัดชุมพร เป็นแหล่งพื้นที่ปลูกพืชเศรษฐกิจที่สำคัญหลายชนิด เช่น ทุเรียน กล้วย เงาะ กาแฟ ปาล์มน้ำมัน ฯลฯ แต่ปัจจุบัน เกษตรกรมักนิยมปลูกพืชเชิงเดี่ยว ทำให้ต้นทุนการผลิตสูง มีปัญหาโรคพืชระบาดที่สำคัญ เช่น โรครากเน่าโคนเน่าในทุเรียนจากเชื้อไฟทอปเทอราที่ส่งผลให้ผลผลิตลดลง และเมื่อผลผลิตมีโรคระบาด ตลาดไม่ต้องการผลผลิตที่ไม่ได้มาตรฐานส่งผลให้มีการจำหน่ายได้น้อย เกษตรกรอาจประสบปัญหาขาดทุนได้ เนื่องจาก เกษตรกรยังขาดความรู้ในเรื่องการปลูกพืชแบบผสมผสานที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ลดปัญหาความเสี่ยงจากโรคระบาด จึงต้องมีการส่งเสริมการปลูกพืชแบบผสมผสานช่วยเพิ่มความหลากหลายของผลผลิตทางการเกษตร ช่วยเพิ่มโอกาสการสร้างรายได้มากขึ้นจึงต้องมีการส่งเสริมการปลูกพืชแบบผสมผสานแบบเกษตรยั่งยืน เช่น เกษตรอินทรีย์ เกษตรปลอดภัย เกษตรกรรมธรรมชาติ เป็นต้น ดังนั้น โครงการนี้ จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาฐานการเรียนรู้เชิงแปลงสาธิตปลูกพืชสวนผสมผสานในวิถีเกษตรอินทรีย์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร และบริการวิชาการสู่ชุมชนในจังหวัดชุมพร

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดตั้งฐานการเรียนรู้ด้านการปลูกพืชสวนแบบเกษตรยั่งยืนในรูปแบบผสมผสาน ณ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
เพื่อจัดอบรมให้ความรู้บริการวิชาการให้แก่เกษตรกร นักศึกษา นักเรียน และผู้สนใจทั่วไป
เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ต่อยอดจากองค์ความรู้ในด้านการส่งเสริมการปลูกพืชแบบผลมผสานแบบเกษตรกรรมยั่งยืน
เพื่อบูรณาการงานบริการวิชาการร่วมกับการเรียนการสอน ในรายวิชาที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ทพ450 เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์, พส210 พืชสวนประดับเบื้องต้น, พช323 การเพาะเลี้ยงกุ้งทะเล, 11301220 ชีวเคมีเพื่อการเกษตร, ทพ461 เทคโนโลยีสารสนเทศในระบบเกษตร, 11302461 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ธรรมชาติจากทรัพยากรทางทะเล, กก231 ทุนมนุษย์ในการประกอบการ และ ศท104 มนุษย์และสิ่งแวดล้อม
เพื่อสนับสนุนงานเกษตรอินทรีย์และ/หรือ เกษตรสุขภาวะ (well-being) ตามนโยบายยุทธศาสตร์ของวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร และบูรณาการการสอนร่วมกับงานวิจัยเชิงพื้นที่ และสนับสนุน SDGs: ข้อ 15 การใช้ประโยชน์จากระบบนิเวศทางบก
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ฐานการเรียนรู้เชิงแปลงสาธิตปลูกพืชสวนผสมผสานตามวิถีเกษตรยั่งยืน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
KPI 1 : จำนวนผลิตภัณฑ์ที่พัฒนาขึ้นมาภายใต้โครงการฯ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ผลิตภัณฑ์ 1
KPI 2 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
75 ร้อยละ 75
KPI 3 : จำนวนครั้งที่จัดอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ครั้ง 1
KPI 4 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : จำนวนผู้เข้าอบรม และเยี่ยมชมฐานการเรียนรู้ฯ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 0 คน 30
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ฐานการเรียนรู้เชิงแปลงสาธิตปลูกพืชสวนผสมผสานตามวิถีเกษตรยั่งยืน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรม 1 : จัดทำแปลงสาธิตฯ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 15/11/2566 - 15/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.จิระศักดิ์  วิชาสวัสดิ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์วีรชัย  เพชรสุทธิ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ณัชพัฒน์  สุขใส (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.พิไลวรรณ  พู่พัฒนศิลป์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ฐิติมา  ศรีพร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์พัชรินทร์  วิริยะสุขสวัสดิ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์วิชชุดา  เอื้ออารี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
โครงการไม่ใช้งบประมาณ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรม 2 : จัดอบรม

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 15/11/2566 - 15/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.จิระศักดิ์  วิชาสวัสดิ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์วีรชัย  เพชรสุทธิ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.พิไลวรรณ  พู่พัฒนศิลป์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ณัชพัฒน์  สุขใส (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ฐิติมา  ศรีพร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์พัชรินทร์  วิริยะสุขสวัสดิ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์วิชชุดา  เอื้ออารี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
โครงการไม่ใช้งบประมาณ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
โครงการไม่ใช้งบประมาณ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 3 : การพัฒนาผลิตภัณฑ์ฯ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 15/11/2566 - 15/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.จิระศักดิ์  วิชาสวัสดิ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์วีรชัย  เพชรสุทธิ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.พิไลวรรณ  พู่พัฒนศิลป์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์พัชรินทร์  วิริยะสุขสวัสดิ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ณัชพัฒน์  สุขใส (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ฐิติมา  ศรีพร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์วิชชุดา  เอื้ออารี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
โครงการไม่ใช้งบประมาณ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มี
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
มีฝนตก ในช่วงไตรมาส 3 ทำให้การจัดอบรม เกิดความล่าช้าไปจากแผนงานเดิม
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
การปลูกพืชแบบเกษตรยั่งยืน ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพและบริการ สินค้าเกษตร เมล็ดพันธุ์, เศรษฐกิจพอเพียง, ความรู้พื้นฐานด้านการเกษตร, การประยุกต์การเกษตรกับวิชาต่างๆ, เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเกษตร, ชีวเคมีเพื่อการเกษตร, ธุรกิจเกษตร, พืชสวนประดับ เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ฯลฯ บูรณาการกับวิชาต่างๆ คือ ทพ450 เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์, พส210 พืชสวนประดับเบื้องต้น, พช323 การเพาะเลี้ยงกุ้งทะเล, 11301220 ชีวเคมีเพื่อการเกษตร, ทพ461 เทคโนโลยีสารสนเทศในระบบเกษตร, 11302461 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ธรรมชาติจากทรัพยากรทางทะเล,
ช่วงเวลา : 18/01/2567 - 18/09/2567
ตัวชี้วัด
2.6 ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน
การบูรณาการ
วัตถุประสงค์การบูรณาการผลการประเมินการนำผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการ
เพื่อให้นักศึกษาเรียนรู้นอกห้องเรียน 80 การจัดทำเอกสารประกอบการสอนในรายวิชาต่างๆ การจัดทำ มคอ.3
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล