20827 : โครงการ การประเมินมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนในพื้นที่ป่าชุมชนอย่างมีส่วนร่วมในพื้นที่ป่าชุมชนตำบลน้ำเลา อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 13/11/2566 13:58:57
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
27/11/2566  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  30  คน
รายละเอียด  นักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ฯ นักวิจัย คณะกรรมการป่าชุมชน และประชาชนทั่วไปที่สนใจ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบประมาณแผ่นดิน โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 2567 200,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร. ธนากร  ลัทธิ์ถีระสุวรรณ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.3.1.2 ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-6 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
เป้าประสงค์ 67-6.5 การพัฒนาตามยุทธศาสตร์ / อัตลักษณ์ / ภารกิจเฉพาะของส่วนงาน
ตัวชี้วัด 67-6.5.4 จำนวนหมู่บ้านหรือ ชุมชนที่ได้รับการบริการ วิชาการ
กลยุทธ์ 67-6.5.4.1 ผลักดันการดำเนินโครงการที่มีความสอดคล้องกับนโยบายการพัฒนาประเทศ ตอบสนองการแก้ไขปัญหาและความต้องการชุมชน
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศของโลกมีปริมาณสูงขึ้นในช่วงศตวรรษที่ผ่านมาและมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง การเพิ่มขึ้นของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศเป็นปัจจัยสำคัญที่ก่อให้เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก (greenhouse effect) ซึ่งมีผลกระทบโดยตรงทำให้โลกมีอุณหภูมิสูงขึ้น นักวิจัยได้มีการคาดการณ์อุณหภูมิผิวโลกในปี 2643 ว่าอุณหภูมิจะสูงขึ้นจากปัจจุบันราว 4.5 องศาเซลเซียส เนื่องจากคาดการณ์ว่าจะมีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ถึงร้อยละ 63 และก๊าซมีเทนร้อยละ 27 ของก๊าซเรือนกระจก สำหรับประเทศไทยมีอุณหภูมิสูงขึ้นประมาณ 1 องศาเซลเซียส ในช่วง 40 ปี (องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก, 2564) ซึ่งอาจจะทำให้เกิดผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศทำให้ฤดูร้อนมีช่วงยาวขึ้นฤดูหนาวสั้นลง ลมพายุเกิดความรุนแรงและเปลี่ยนทิศทาง กิจกรรมทางด้านป่าไม้นับเป็นกิจกรรมสาขาหนึ่งที่มีบทบาทสำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศ เนื่องจากต้นไม้สามารถดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากบรรยากาศแล้วมาเก็บสะสมไว้ในรูปของมวลชีวภาพ ทั้งในส่วนเหนือพื้นดินและใต้ดิน ทำให้คาร์บอนมีการตรึงไว้ในต้นไม้ จนกว่าจะมีการตัดต้นไม้ออกจากพื้นที่ไป ประดิษฐ์ และคณะ (2562) กล่าวว่าเราควรรักษาป่าไม้ให้มากที่สุด ลดการตัดไม้ทำลายป่า ร่วมกันฟื้นฟูป่าเสื่อมโทรม หรือปลูกสร้างสวนป่า เพื่อลดการปลดปล่อยคาร์บอนสู่บรรยากาศ ป่าชุมชนเป็นพื้นที่หนึ่งที่มีความสำคัญในปัจจุบันตามพระราชบัญญัติป่าชุมชน พ.ศ. 2562 ที่เน้นการจัดการโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน โดยเฉพาะในจังหวัดแพร่มี จำนวนมากกว่า 300 ป่าชุมชน ยังขาดการสนับสนุนในเรื่องการมีส่วนร่วมในการประเมินการกักเก็บคาร์บอนและการประเมินมูลค่าของไม้ยืนต้นในป่าชุมชน คณะนักวิจัยจึงเกิดแนวความคิดการวิจัยและพัฒนารูปแบบการประเมินการกักเก็กเก็บคาร์บอนโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนขึ้น การมีส่วนร่วมของชุมชน โดยเฉพาะในจังหวัดแพร่มี จำนวนมากกว่า 300 ป่าชุมชน ยังขาดการสนับสนุนในเรื่องการมีส่วนร่วมในการประเมินการกักเก็บคาร์บอนและการประเมินมูลค่าของไม้ยืนต้นในป่าชุมชน คณะนักวิจัยจึงเกิดแนวความคิดการวิจัยและพัฒนารูปแบบการประเมินการกักเก็กเก็บคาร์บอนโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนขึ้น โดยเลือกป่าชุมชนในการเป็นต้นแบบการฝึกการประเมินมวลชีวภาพ และการประเมินการกักเก็บคาร์บอนในพื้นที่ป่าชุมชน เป็นรูปแบบส่งเสริมและจัดการป่าชุมชนแบบมีส่วนร่วม ร่วมคิดวางแผน ร่วมทำ ร่วมวิเคราะห์ และการนำผลงานไปใช้ประโยชน์โดยการฝึกแกนนำของชุมชน และสามารถให้แกนนำเหล่านี้ถ่ายทอดให้กับรุ่นต่อๆ ไปและป่าชุมชนใกล้เคียงเป็นแหล่งศึกษาดูงานในการเป็นต้นแบบการดำเนินการ การประเมินมูลค่า และการประเมินการกักเก็บคาร์บอนของไม้ยืนต้นในป่าชุมชนแบบมีส่วนร่วมได้

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อสนองพระราชดำริภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
2. เพื่อประเมินปริมาณมวลชีวภาพของต้นไม้ในพื้นที่ป่าชุมชนอย่างมีส่วนร่วม
3. เพื่อประเมินการกักเก็บคาร์บอนในมวลชีวภาพของต้นไม้ในพื้นที่ป่าชุมชนอย่างมีส่วนร่วม
4. เพื่อเป็นข้อมูลการวางแผนการซื้อขายคาร์บอนเครดิตของชุมชนในอนาคตได้
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : โครงการ การประเมินมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนในพื้นที่ป่าชุมชนอย่างมีส่วนร่วมในพื้นที่ป่าชุมชน ตำบลน้ำเลา อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่
KPI 1 : ต้นแบบชุมชนประเมินการกักเก็บคาร์บอน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ต้นแบบ 1
KPI 2 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.03568 0.14632 0.018 ล้านบาท 0.2
KPI 4 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 คน 30
KPI 5 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิขากรและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : ร้อยละของผู้รับบริการมีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 7 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 8 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : โครงการ การประเมินมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนในพื้นที่ป่าชุมชนอย่างมีส่วนร่วมในพื้นที่ป่าชุมชน ตำบลน้ำเลา อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่
ชื่อกิจกรรม :
1. ศึกษาและสำรวจข้อมูลพื้นฐานเบื้องต้น

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 27/11/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.ธนากร  ลัทธิ์ถีระสุวรรณ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.อิสรีย์  ฮาวปินใจ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ศิริลักษณ์  สุขเจริญ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธิติ  วานิชดิลกรัตน์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง
1.1 ค่าพาหนะ จำนวน 28 กิโลเมตร ๆ ละ 4 บาท จำนวน 20 ครั้ง เป็นเงิน 2,240 บาท
1.2 ค่าเบี้ยเลี้ยง จำนวน 10 วัน ๆ ละ 240 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท
2. ค่าถ่ายเอกสาร เป็นเงิน 2,180 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 6,820.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,820.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุสำนักงาน เป็นเงิน 3,860 บาท
2. ค่าวัสดุก่อสร้าง เป็นเงิน 15,000 บาท
3. วัสดุคอมพิวเตอร์ เป็นเงิน 10,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 28,860.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 28,860.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 35680.00
ชื่อกิจกรรม :
2. การวางแปลงศึกษาโครงสร้างสังคมพืช อย่างมีส่วนร่วม

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 27/11/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.ธนากร  ลัทธิ์ถีระสุวรรณ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.อิสรีย์  ฮาวปินใจ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ศิริลักษณ์  สุขเจริญ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธิติ  วานิชดิลกรัตน์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง
1.1 ค่าพาหนะ จำนวน 28 กิโลเมตร ๆ ละ 4 บาท จำนวน 30 ครั้ง เป็นเงิน 3,360 บาท
1.2 ค่าเบี้ยเลี้ยง จำนวน 20 วัน ๆ ละ 240 บาท เป็นเงิน 4,800 บาท
2. ค่าจ้างเหมาเก็บข้อมูลภาคสนามและทำแผนที่โดยใช้โปรแกรม GIS จำนวน 1 งาน เป็นเงิน 40,000 บาท
3. ค่าจ้างเหมาผู้นำทางเดินป่า จำนวน 5 คน ๆ ละ 1,000 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 53,160.00 บาท 0.00 บาท 53,160.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 53160.00
ชื่อกิจกรรม :
3. การวิเคราะห์ปริมาณการกักเก็บคาร์บอนและการแปรผลอย่างมีส่วนร่วม

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 27/11/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.ธนากร  ลัทธิ์ถีระสุวรรณ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.อิสรีย์  ฮาวปินใจ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ศิริลักษณ์  สุขเจริญ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธิติ  วานิชดิลกรัตน์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง
1.1 ค่าพาหนะ จำนวน 28 กิโลเมตร ๆ ละ 4 บาท จำนวน 30 ครั้ง เป็นเงิน 3,360 บาท
1.2 ค่าเบี้ยเลี้ยง จำนวน 20 วัน ๆ ละ 240 บาท เป็นเงิน 4,800 บาท
2. ค่าจ้างเหมาการประเมินหามวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอน จำนวน 1 งาน เป็นเงิน 45,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 53,160.00 บาท 0.00 บาท 53,160.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 53160.00
ชื่อกิจกรรม :
4. การเขียนรายงานจากผลการวิเคราะห์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 27/11/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.ธนากร  ลัทธิ์ถีระสุวรรณ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.อิสรีย์  ฮาวปินใจ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ศิริลักษณ์  สุขเจริญ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธิติ  วานิชดิลกรัตน์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าจ้างเหมาจัดทำโครงสร้างป่า, ฐานข้อมูลพืช และบันทึกข้อมูล จำนวน 1 งาน เป็นเงิน 40,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 40,000.00 บาท 0.00 บาท 40,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 40000.00
ชื่อกิจกรรม :
การส่งเสริมและเผยแพร่

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 27/11/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.ธนากร  ลัทธิ์ถีระสุวรรณ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.อิสรีย์  ฮาวปินใจ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ศิริลักษณ์  สุขเจริญ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธิติ  วานิชดิลกรัตน์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าจ้างเหมาจัดทำคู่มือการประเมินการกักเก็บคาร์บอนในพื้นที่ป่าชุมชนอย่างมีส่วนร่วมในพื้นที่ป่าชุมชนตำบลน้ำเลา อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ จำนวน 60 เล่ม ๆ ละ 150 บาท เป็นเงิน 9,000 บาท
2. ค่าจ้างเหมาจัดทำป้ายโปสเตอร์ เป็นเงิน 5,000 บาท
3. ค่าจ้างเหมาจัดทำป้ายไวนิล เป็นเงิน 4,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 18,000.00 บาท 18,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 18000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล