20824 : โครงการส่งเสริมความเข้มแข็งและยั่งยืนของชุมชน
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
นางกัลยารัตน์ วงศ์แก้ว (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 13/11/2566 15:29:13
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
02/10/2566  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  600  คน
รายละเอียด  นักเรียน บุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียนเป้าหมาย และนักศึกษาคณะเทคโนโลยีการประมงฯ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณเงินรายได้ของคณะ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ผลงานการให้บริการวิชาการ กิจกรรมหลักเผยแพร่ความรู้งานบริการวิชาการและประชาสัมพันธ์ แผนงานบริการวิชาการแก่สังคม งานบริการวิชาการแก่ชุมชน กองทุนบริการวิชาการ งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป โครงการส่งเสริมความเข้มแข็งและยั่งยืนของชุมชน จำนวน 30,000 บาท 2567 30,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาง ณัฏฐกานต์  มุกดาจตุรพักตร์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ขจรเกียรติ์  ศรีนวลสม
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
นโยบายด้านการสื่อสารองค์กร
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
นโยบายด้านบุคลากร
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.1.9 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการ พัฒนาพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.1.9.1 ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และส่งเสริม อัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัยสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.1.9.2 ส่งเสริมกิจกรรมกศึกษาเพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม ใกล้ชิดกับชุมชนและเกษตรกร และการรักษาสิ่งแวดล้อมเพื่อสร้างจิตสาธารณะและจิตสำนึกที่ดีแก่นักศึกษา และภาพลักษณ์ที่ดีของมหาวิทยาลัย
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.3.1.2 ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.3.2 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.3.2.1 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ FT-67-2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ FT-67-2.1 ผลิตบัณฑิตให้เป็นนักปฏิบัติมืออาชีพ และส่งเสริมการเป็นผู้ประกอบการ
ตัวชี้วัด FT-67-2.1.8.(8) ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการพัฒนาพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ FT-67-2.1.5 พัฒนาศักยภาพนักศึกษาให้เป็นนักปฏิบัติมืออาชีพในสาขาวิชาและทันต่อการเปลี่ยนแปลง ส่งเสริมกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 และสร้างความเป็นผู้ประกอบการ
เป้าประสงค์ FT-67-2.3 ส่งเสริมองค์ความรู้ทางด้านการประมงให้เป็นที่ยอมรับทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
ตัวชี้วัด FT-67-2.3.1.(1) ระดับความสำเร็จของการบูรณาการผลงานบริการวิชาการสู่พันธกิจอื่น
กลยุทธ์ FT-67-2.3.1 ส่งเสริมการบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคมกับพันธกิจอื่นๆ
ตัวชี้วัด FT-67-2.3.1.(2) จำนวนงบประมาณบริการวิชาการจากแหล่งทุนภายนอก
กลยุทธ์ FT-67-2.3.2 สร้างเครือข่ายกับหน่วยงานภายนอกในการบูรณาการองค์ความรู้ทางการประมงกับการให้บริการวิชาการแก่สังคมอย่างมีประสิทธิภาพทั้งที่ก่อให้เกิดรายได้และไม่เกิดรายได้
ตัวชี้วัด FT-67-2.3.1.(3) จำนวนแหล่งเรียนรู้ /ฐานเรียนรู้ (KAP & KP)
กลยุทธ์ FT-67-2.3.2 สร้างเครือข่ายกับหน่วยงานภายนอกในการบูรณาการองค์ความรู้ทางการประมงกับการให้บริการวิชาการแก่สังคมอย่างมีประสิทธิภาพทั้งที่ก่อให้เกิดรายได้และไม่เกิดรายได้
ตัวชี้วัด FT-67-2.3.1.(4) ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ FT-67-2.3.2 สร้างเครือข่ายกับหน่วยงานภายนอกในการบูรณาการองค์ความรู้ทางการประมงกับการให้บริการวิชาการแก่สังคมอย่างมีประสิทธิภาพทั้งที่ก่อให้เกิดรายได้และไม่เกิดรายได้
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ FT-67-6 การพัฒนาตามอัตลักษณ์ของคณะ
เป้าประสงค์ FT-67-6.1 พัฒนาอัตลักษณ์ตามจุดเน้นของคณะ
ตัวชี้วัด FT-67-6.1.1.(4) จำนวนเครือข่ายชุมชน/ศิษย์เก่า ที่เป็นห้องเรียนที่มีชีวิตให้แก่นักศึกษา
กลยุทธ์ FT-67-6.1.4 สร้างความเข้มแข็งและความยั่งยืนให้แก่ชุมชน และสร้างเครือข่ายชุมชนให้เป็นห้องเรียนที่มีชีวิตให้แก่นักศึกษา
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นหน่วยงานที่ทำหน้าที่ในการดำเนินกิจกรรมด้านการเรียนการสอน การให้บริการวิชาการและโครงการวิจัย เพื่อรองรับแผนพัฒนาประเทศอย่างรู้เท่าทันต่อสถานการณ์ในปัจจุบัน ซึ่งสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการกำหนดทิศทางการบริการวิชาการแก่ชุมชนและพัฒนาผู้เรียนตามหลักเกณฑ์และขั้นตอนการบริการวิชาการได้อย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องด้วยแผนงานบริการวิชาการด้านการประมง เป็นหนึ่งในพันธกิจของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ วัตถุประสงค์หลักเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและพัฒนาท้องถิ่นอย่างยั่งยืน ในรูปแบบของการสนับสนุนให้หน่วยงานต่าง ๆ ดำเนินการให้บริการวิชาการแก่สังคมตามศักยภาพของสมาชิกและบริบทของแต่ละหน่วยงานหรือชุมชน สร้างและพัฒนานวัตกรรมและองค์ความรู้ในสาขาวิชาต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งทางการเกษตรและวิทยาศาสตร์ประยุกต์ เพื่อการเรียนรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยีแก่สังคม พัฒนามหาวิทยาลัยให้มีความเป็นเลิศทางวิชาการด้านการเกษตรเพื่อเป็นที่พึ่งของตนเองและสังคม ตามแผนพัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้ ระยะ 15 ปี (พ.ศ. 2555 – 2569) ดังนั้น เพื่อความต่อเนื่องการดำเนินกิจกรรมทางการประมงตามความต้องการของกลุ่มชุมชนเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ของคณะฯ ด้านการบริการวิชาการเพื่อการพัฒนาเครือข่ายชุมชนและฐานเรียนรู้ ร่วมกับ การพัฒนาผู้เรียน ด้วยการเรียนรู้และฝึกปฏิบัติการในชุมชนเครือข่ายด้านการประมงเพื่อเป็นห้องเรียนที่มีชีวิตให้แก่นักศึกษา ปีงบประมาณ 2567 คณะเทคโนโลยีการประมงฯ จึงได้จัดทำ “โครงการส่งเสริมความเข้มแข็งและยั่งยืนของชุมชน” โดยมุ่งหวังให้เกิดการบริการวิชาการแบบบูรณาการร่วมกันระหว่างผู้สอน (คณาจารย์ และบุคลากรของคณะฯ) ผู้เรียน (นักศึกษาสังกัดคณะฯ นิสิตและนักเรียนผู้รับบริการจากสถาบันการศึกษาต่าง ๆ ) และผู้รับบริการจากหน่วยงานภายนอก (เกษตรกร สมาชิกกลุ่มงานเครือข่ายชุมชน และผู้สนใจทั่วไป) ได้รับความรู้ด้านการประมง เรียนรู้ฝึกปฏิบัติกิจกรรมทางการประมง เกิดทักษะการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาศักยภาพชุมชนให้เกิดความเข้มแข็งและยั่งยืนต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อพัฒนาการให้บริการวิชาการด้านการประมงแก่ชุมชนและสังคมที่มีประสิทธิภาพ
เพื่อสนับสนุนให้บุคลากรมีการบูรณาการกิจกรรมหรือโครงการบริการวิชาการมาประยุกต์ใช้ในในด้านการเรียนการสอนหรืองานวิจัยและการให้บริการวิชาการ
เพื่อสร้างเครือข่ายชุมชนที่มีการดำเนินงานด้านการประมงและเป็นห้องเรียนที่มีชีวิตให้แก่นักศึกษา
เพื่อพัฒนาและยกระดับมาตรฐานการตรวจวิเคราะห์ทางการประมงรองรับกิจกรรมการให้บริการวิชาการแบบมีรายได้
เพื่อพัฒนาและยกระดับมาตรฐานการตรวจวิเคราะห์ทางการประมงรองรับกิจกรรมการให้บริการวิชาการแบบมีรายได้
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผู้รับบริการวิชาการด้านการประมงมีองค์ความรู้ที่สามารถนำไปบูรณาการเพื่อพัฒนาชุมชนได้อย่างยั่งยืน
KPI 1 : ระดับคะแนนผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
4 คะแนน 4
KPI 2 : จำนวนเครือข่ายชุมชน/ห้องเรียนที่มีชีวิตให้แก่นักศึกษา
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 1 1 2 ชุมชน 5
KPI 3 : ร้อยละของจำนวนผู้รับบริการจากหน่วยงานต่างประเทศที่เข้ารับบริการวิชาการด้านการประมง (จำนวน 50 คน)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 20 20 30 ร้อยละ 80
KPI 4 : จำนวนรายรับจากการให้บริการวิชาการ (ครอบคลุมทุกกิจกรรม)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1000 2000 2000 บาท 5000
KPI 5 : สำหรับนักศึกษา ระดับคะแนนประโยชน์หรือผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการจากการเข้าร่วมโครงการต่อการเรียน
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 คะแนน 3.51
KPI 6 : จำนวนครั้งในการจัดกิจกรรมส่งเสริมโครงการตามแนวพระราชดำริ(ด้านการประมง)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ครั้ง 1
KPI 7 : ร้อยละของจำนวนนักศึกษาสังกัดคณะฯ เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรมบริการวิชาการ (จากจำนวน 50 คน)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 20 20 30 ร้อยละ 80
KPI 8 : สำหรับเครือข่ายชุมชน ระดับคะแนนประโยชน์และการประยุกต์ใช้องค์ความรู้และหรือกิจกรรมด้านการประมงในพื้นที่ต่อการพัฒนาชุมชน
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 คะแนน 3.51
KPI 9 : ระดับคะแนนความพึงพอใจโดยรวมต่อการจัดโครงการ/กิจกรรม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 คะแนน 3.51
KPI 10 : จำนวนฐานเรียนรู้หรือหน่วยเรียนรู้ที่ได้รับการพัฒนา (ฐานเรียนรู้ทั้งภายในคณะฯและชุมชนที่มีการบูรณาการร่วมกับการเรียนการสอนในรายวิชาของคณะฯ)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 2 1 1 ฐาน 5
KPI 11 : ร้อยละของจำนวนโครงการบริการวิชาการคณะฯ ปี 2567 ร่วมบูรณาการกับชุมชนเป้าหมาย (จากจำนวน 6 โครงการ)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
25 25 30 ร้อยละ 80
KPI 12 : ร้อยละของจำนวนผู้รับบริการจากหน่วยงานภายนอก เช่น เกษตรกร นักเรียน ผู้สนใจทั่วไป (จากจำนวน 500 คน)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 20 20 30 ร้อยละ 80
KPI 13 : ร้อยละของโครงการเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 20 30 30 ร้อยละ 90
KPI 14 : จำนวนองค์ความรู้ที่นำไปให้บริการวิชาการและหรือการวิจัยสู่ชุมชน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
5 เรื่อง 5
KPI 15 : สำหรับผู้รับบริการทั่วไป ระดับคะแนนประโยชน์หรือผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของการเข้ารับบริการวิชาการต่อชุมชน/องค์กร/สังคม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 คะแนน 3.51
KPI 16 : จำนวนครั้งในการออกพื้นที่ดำเนินกิจกรรมบริการวิชาการในชุมชนเป้าหมาย
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 2 3 3 ครั้ง 10
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผู้รับบริการวิชาการด้านการประมงมีองค์ความรู้ที่สามารถนำไปบูรณาการเพื่อพัฒนาชุมชนได้อย่างยั่งยืน
ชื่อกิจกรรม :
โครงการส่งเสริมความเข้มแข็งและยั่งยืนของชุมชน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 02/10/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ขจรเกียรติ์  ศรีนวลสม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางณัฏฐกานต์  มุกดาจตุรพักตร์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายสุฤทธิ์  สมบูรณ์ชัย (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายเทพพิทักษ์  บุญทา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเบี้ยเลี้ยง จำนวน 4 คน ๆ จำนวน 2 ครั้ง ๆ ละ 2 วัน ๆ ละ 240 บาท เป็นเงิน 3,840 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
500.00 บาท 1,000.00 บาท 1,000.00 บาท 1,340.00 บาท 3,840.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าที่พักสำหรับบุคลากร จำนวน 4 คน ๆ ละ 2 ครั้ง ๆ ละ 1 คืน ๆ ละ 800 บาท เป็นเงิน 6,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
1,000.00 บาท 2,000.00 บาท 2,000.00 บาท 1,400.00 บาท 6,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าชดเชยน้ำมันเชื้อเพลิงรถยนต์ส่วนตัว ไป-กลับ จำนวน 2 ครั้ง ๆ ละ 450 กิโลเมตร ๆ ละ 4 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
600.00 บาท 1,000.00 บาท 1,000.00 บาท 1,000.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์ เป็นเงิน 2,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
500.00 บาท 500.00 บาท 500.00 บาท 500.00 บาท 2,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุก่อสร้าง เป็นเงิน 2,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
500.00 บาท 500.00 บาท 500.00 บาท 1,000.00 บาท 2,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุการเกษตร เป็นเงิน 8,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
2,000.00 บาท 2,000.00 บาท 2,000.00 บาท 2,000.00 บาท 8,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุไฟฟ้าและวิทยุ เป็นเงิน 500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เป็นเงิน 500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เป็นเงิน 1,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 500.00 บาท 500.00 บาท 0.00 บาท 1,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุน้ำมันเชื้อเพลิง เป็นเงิน 1,660 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
300.00 บาท 360.00 บาท 500.00 บาท 500.00 บาท 1,660.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 30000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ผู้เข้ารับบริการมีความต้องการองค์ความรู้ที่ไม่สอดคล้องกับความเชี่ยวชาญของบุคลากร
เกษตรกรหรือบุคคลทั่วไปมีช่องทางการติดต่อรับบริการหลายช่องทางจึงไม่สามารถกำหนดการล่วงหน้าได้
องค์ความรู้ทางด้านการประมงที่เกษตรกรต้องการขาดความต่อเนื่องในการพัฒนา และบางส่วนคณะฯ ยังไม่พร้อมให้บริการ
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
คณะกรรมการบริการวิชาการรวบรวมข้อมูลเพื่อประเมินความต้องการของผู้รับบริการและกำหนดแผนพัฒนาบุคลากรตามความเหมาะสม
คณะกรรมการบริการวิชาการดำเนินการพัฒนาระบบบริหารจัดการหน่วยด้วยการประชาสัมพันธ์ระบบและกลไกการให้บริการต่องานประชาสัมพันธ์มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล