20817 : โครงการการเพิ่มมูลค่าจากของเศษเหลือจากฟาร์มปศุสัตว์
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
นางดาริน ชมภูพันธ์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/4/2567 16:13:33
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/01/2567  ถึง  31/08/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  300  คน
รายละเอียด  มีนักศึกษาและผู้ที่สนใจเข้าศึกษาดูงาน จำนวน 300 คน (โดยมีผลิตภัณฑ์มูลสัตว์ จำนวน 400 กระสอบ)
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบเงินรายได้ปี 2567 2567 10,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. วันทมาส  จันทะสินธุ์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สัตวแพทย์หญิง ดร. พชรพร  ตาดี
นาง ดาริน  ชมภูพันธ์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการกำกับติดตามแบบบูรณาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 1.2 ความสำเร็จของการเป็นมหาวิทยาลัยแห่งชีวิต (GO. Eco U.)
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 1.2.1 ความสำเร็จของยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์ (Organic University)
กลยุทธ์ 67-70 MJU 1.2.1.1 กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่มหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์ที่ชัดเจน และขับเคลื่อนกิจกรรม รวมทั้งติดตามประเมินผลอย่างเป็นระบบ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-1 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 100 ปี SPO
เป้าประสงค์ 67-1.1 ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายของยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้สู่ปีที่ 100
ตัวชี้วัด AS 67_1.2 ความสำเร็จของยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์ (Organic University)
กลยุทธ์ 67-1.1 การขับเคลื่อนการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยสู่ปีที่ 100
กลยุทธ์ 67-1.4 พัฒนาช่องทางจำหน่ายผลิตภัณฑ์อินทรีย์ของมหาวิทยาลัยและเครือข่ายเกษตรกร
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-6.1 พัฒนาอัตลักษณ์ที่เป็นจุดเน้นของคณะ
ตัวชี้วัด AS 67_6.3 จำนวนผลิตภัณฑ์ที่ผลิตจากของเหลือใช้ในฟาร์มปศุสัตว์
กลยุทธ์ 67-6.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดทำผลิตภัณฑ์
กลยุทธ์ 67-6.3 ส่งเสริมและสนับสนุนให้ฟาร์มเลี้ยงสัตว์ของคณะนำเศษเหลือมาใช้ประโยชน์
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ของเสียจากการทำฟาร์มปศุสัตว์ส่วนใหญ่จะเป็นมูลสัตว์ ซึ่งถ้ามีการจัดการและการบำบัดไม่ดีก็จะเกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ก่อให้เกิดกลิ่นเหม็นรบกวน เป็นแหล่งเพาะพันธุ์แมลงวันและสัตว์พาหะหลายชนิด ซึ่งก่อให้เกิดความรำคาญและอาจเป็นพาหะกลางในการแพร่กระจายของเชื้อโรคหลายชนิด ดังนั้น การจัดการฟาร์มปศุสัตว์เพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจึงมุ่งเนินไปที่การจัดการของเสียจากฟาร์มปศุสัตว์ โดยการนำไปแปรรูปและนำมาใช้ประโยชน์ การนำของเสียจากฟาร์มปศุสัตว์มาแปรรูปและนำไปใช้ประโยชน์วิธีการหนึ่งนั้นคือ การนำไปทำเป็นปุ๋ยเพื่อใช้เป็นวัสดุปุ๋ยในการบำรุงดินและต้นพืช ในระยะที่ผ่านมา ฟาร์มปศุสัตว์ของคณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี ได้จำหน่ายมูลสัตว์ให้กับเกษตรกรและผู้ที่ต้องการใช้ปุ๋ยจากมูลสัตว์อยู่แล้ว โดยเกษตรกรจะต้องนำไปหมักหรือนำไปเก็บรักษาอีกระยะหนึ่งจึงจะทำไปใช้เป็นปุ๋ยใส่บำรุงดินได้ ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยแม่โจ้ มีนวัตกรรมการผลิตปุ๋ยหมักแบบไม่กลับกอง ซึ่งสามารถใช้ทำปุ๋ยหมักได้ดี ในระยะเวลาอันสั้นและไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ดังนั้น คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี จึงจัดทำโครงการผลิตปุ๋ยหมักจากมูลสัตว์และเศษเหลือจากฟาร์มปศุสัตว์ เพื่อแปรรูปเศษเหลือจากฟาร์มปศุสัตว์ให้อยู่ในรูปแบบที่เกษตรกรสามารถนำไปใช้เป็นปุ๋ยบำรุงดินได้เลย และเป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับเศษเหลือจากฟาร์มปศุสัตว์อีกด้วย

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1.เพื่อนำเอามูลสัตว์และเศษเหลือจากฟาร์มปศุสัตว์มาใช้ประโยชน์
2.เพื่อสร้างรายได้จากการจำหน่ายปุ๋ยจากมูลสัตว์และเศษเหลือจากฟาร์มปศุสัตว์
3.เพื่อตอบสนองนโยบาย Smart farm, Green University และ Eco University ของมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : โครงการการเพิ่มมูลค่าจากของเศษเหลือจากฟาร์มปศุสัตว์
KPI 1 : ระดับความสำเร็จในการใช้จ่ายงบประมาณเปรียบเทียบกับผลผลิต
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
4 ระดับ 4
KPI 2 : การบูรณาการผลงานสู่พันธกิจอื่นๆ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 พันธกิจ 1
KPI 3 : จำนวนปุ๋ยจากมูลสัตว์ (จำนวนผลิตภัณฑ์ที่มาจากฟาร์ม)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 100 100 100 กระสอบ 400
KPI 4 : ร้อยละของโครงการแล้วเสร็จตามเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : โครงการการเพิ่มมูลค่าจากของเศษเหลือจากฟาร์มปศุสัตว์
ชื่อกิจกรรม :
1 การเพิ่มมูลค่าจากของเศษเหลือจากฟาร์มปศุสัตว์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/01/2567 - 31/08/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.วันทมาส  จันทะสินธุ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์กรรณิกา  ฮามประคร (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางดาริน  ชมภูพันธ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายครรชิต  ชมภูพันธ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายกิตติพงษ์  ทิพยะ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายอภิชาติ  หมั่นวิชา (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายโยธิน  นันตา (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายภานุวัต  ศิริ (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.วชิราภรณ์  ปัตถาวะโร (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าจ้างเหมาบริการจัดทำป้ายธงญี่ปุ่น ขนาด 55*160 เซนติเมตร จำนวน 2 อัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,200.00 บาท 2,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
- ค่าวัสดุก่อสร้าง เช่น ปูน หิน ลวด ฯลฯ เป็นเงิน 3,800 บาท
- ค่าวัสดุไฟฟ้า เช่น เบรคเกอร์ สายไฟ ฯลฯ เป็นเงิน 4,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,800.00 บาท 7,800.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 10000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
การปฏิบัติงานฟาร์ม และการจัดการฟาร์ม ในรายวิชา ดังนี้ 1. รายวิชา สศ392 การปฏิบัติงานฟาร์มสุกร , 11110303 การปฏิบัติงานฟาร์มสุกร 2. รายวิชา สศ353 การจัดการฟาร์มสุกร , 11104304 การจัดการฟาร์มสุกร 3. สศ391 การปฏิบัติงานฟาร์มโคนมและโคเนื้อ,11110302 การปฏิบัติงานฟาร์มโคนมและโคเนื้อ 4. สศ352 การจัดการฟาร์มโคนมและโคเนื้อ 5. สศ390 การปฏิบัติงานฟาร์มสัตว์ปีก ,11110301 การปฏิบัติงานฟาร์มสัตว์ปีก 6. สศ351 การจัดการฟาร์มสัตว์ปีก , 11104302 การจัดการฟาร์มสัตว์ปีก
ช่วงเวลา : 01/01/2567 - 31/08/2567
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล