20812 : โครงการคัดเลือกและการใช้ประโยชน์จากสายพันธุ์พริกพื้นเมืองในจังหวัดเชียงใหม่
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
อาจารย์ ดร.สุเทพ วัชรเวชศฤงคาร (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 12/2/2567 15:34:34
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2566  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  100  คน
รายละเอียด  นักศึกษา ประชาชนที่สนใจทั่วไป 100 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณแผ่นดินประจำปี 2567 แผนงานพื้นฐาน แผนงานรอง : แผนงานพื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิต : ผลงานการให้บริการวิชาการ กิจกรรมหลักเผยแพร่ความรู้งานบริการวิชาการและประชาสัมพันธ์ แผนงานบริการวิชาการแก่สังคม งานบริการวิชาการแก่ชุมชน กองทุนบริการวิชาการ งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป เงินอุดหนุน โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ (อพ.สธ.) 2567 200,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. สุเทพ  วัชรเวชศฤงคาร
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.3.2 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.3.2.1 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67 AP 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67 AP 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคมชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67 AP 2.3.2 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 67 AP 2.3.2.1 ขับเคลื่อนการสำรวจผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนเป้าหมายจากการให้บริการวิชาการและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

พริกมีชื่อวิทยาศาสตร์ Capsicum spp. เป็นพืชผักชนิดหนึ่งที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจเป็นอันดับต้น และมีความสำคัญในชีวิตประจำวันของคนไทยเป็นอย่างมาก สามารถนำมาใช้ในการบริโภคได้ทั้งผลสดและแปรรูป ประเทศไทยมีพื้นที่การปลูกประมาณ 167,443 ไร่ ได้ผลผลิตรวม 283,515 ตัน ฉันทนา และคณะ (2549) ได้ทำการศึกษาสถานการณ์การปลูกพริกในจังหวัดเชียงใหม่ พบว่าเกษตรกรนิยมปลูกพริกพันธุ์พื้นเมือง และมีการเก็บเมล็ดพันธุ์เอาไว้ใช้เองในเกือบทุกอำเภอ ยกเว้นอำเภอสันทรายที่เกษตรกรใช้พันธุ์พริกลูกผสมชั้วที่ 1 แต่ในปัจจุบันการเพาะปลูกพริกเพื่อการค้าเกษตรกรนิยมใช้พันธุ์พริกลูกผสมชั่วที่1 (F1 hybrid) ซึ่งเป็นพันธุ์การค้าที่ได้จากการปรับปรุงพันธุ์ของบริษัทเอกชนเป็นส่วนมาก เนื่องจากให้ผลผลิตที่สูงและมีความสม่ำเสมอ ประกอบกับนโยบายของแต่ละบริษัทที่มีเจ้าหน้าที่ออกมาส่งเสริมให้เกษตรกรใช้พันธุ์ที่ปลูกเพื่อการค้า ทำให้มีแนวโน้มว่าพันธุ์พริกพื้นเมืองมีความนิยมปลูกน้อยลงซึ่งเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ และการสูญเสียความหลากหลายทางพันธุกรรม ที่ผ่านมาได้ดำเนินการวิจัยในการเก็บรวบรวมพันธุ์พริกพื้นเมืองในจังหวัดเชียงใหม่ เพื่อนำมาปลูกศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของพริกในแต่ละแหล่งปลูก พร้อมกับทำการคัดเลือกสายพันธุ์ให้ได้พริกที่มีลักษณะดี มีความคงตัวและบริสุทธิ์ของสายพันธุ์ ดังนั้นโครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทำการปลูกคัดเลือกให้ได้สายพันธุ์พริกที่มีศักยภาพในการปรับตัวเข้ากับแต่ละแหล่งปลูก รวมทั้งให้ผลผลิตสูง เพื่อนำสายพันธุ์พริกที่ผ่านการคัดเลือก และทดสอบผลผลิตกลับไปยังแหล่งปลูกเดิมให้เกษจรกรได้มีสายพันธุ์พริกที่ดีไว้ใช้ปลูกต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อสนองพระราชดำริภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
คัดเลือกสายพันธุ์พริกพื้นเมืองในจังหวัดเชียงใหม่เพื่อนำสายพันธุ์พริกเหล่านี้กลับไปยังแหล่งปลูกเพื่อให้เกษตรกรเก็บเมล็ดพันธุ์ไว้ใช้เองเพื่อรักษาพันธุ์พืชพื้นเมืองต่อไป
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : พันธุกรรมพริกพื้นเมือง
KPI 1 : การถ่ายทอดองค์ความรู้ที่เกี่ยวกับอนุรักษ์พันธุกรรมและการผลิตเมล็ดพันธุ์พริกไว้ใช้เองแก่นักศึกษาและประชาชนทั่วไป
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 50 คน 100
KPI 2 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
40 40 ร้อยละ 80
KPI 3 : แหล่งรวบรวมพันธุกรรมพริกพื้นเมือง
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 แหล่ง 1
KPI 4 : ร้อยละของงานบริการวิชาการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : พันธุกรรมพริกพื้นเมือง
ชื่อกิจกรรม :
การอนุรักษ์พันธุ์พริกพื้นเมือง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.สุเทพ  วัชรเวชศฤงคาร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร เช่น วัสดุเพาะกล้า ถาดเพาะกล้า ขุยมะพร้าว ตอกเสียบแปลง ไม้ไผ่ ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยเคมี สารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืช เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 132,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 132,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 132000.00
ชื่อกิจกรรม :
การถ่ายทอดองค์ความรู้เรื่องการผลิตเมล็ดพันธุ์พริกพื้นเมือง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/04/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.สุเทพ  วัชรเวชศฤงคาร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ A4 กรรไกร ดินสอ 2B ไม้บรรทัด เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร เช่น วัสดุเพาะกล้า ถาดเพาะกล้า ขุยมะพร้าว ตอกเสียบแปลง ไม้ไผ่ ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยเคมี สารป้องกันกำจัดศัตรูพืช เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 62,000.00 บาท 0.00 บาท 62,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 68000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
การผลิตเมล็ดพันธุ์
ช่วงเวลา : 01/11/2566 - 30/09/2567
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล