20811 : โครงการอนุรักษ์และคัดเลือกพันธุ์แตงไทยเพื่อการบริโภคผลอ่อน
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
อาจารย์ ดร.แสงเดือน อินชนบท (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
03/10/2566  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  100  คน
รายละเอียด  นักศึกษา นักวิชาการ เกษตรกร และผู้สนใจทั่วไป
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน ใช้เงินงบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2567 แผนงานพื้นฐาน แผนงานรอง แผนงานพื้้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรณ์มนุษย์ ผลผลิต ผลงานการให้บริการวิชาการ กิจกรรมหลัก เผยแพร่ความรู้งานบริการวิชาการและประชาสัมพันธ์ แผนงานบริการวิชาการแก่สังคม งานบริการวิชาการแก่ชุมชน กองทุนบริการวิชาการ งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป เงินอุดหนุนโครงการอนุ่รักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (อพ.สธ.) 2567 200,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. แสงเดือน  อินชนบท
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 1.1 ความสำเร็จของการบริหารจัดการและพัฒนามหาวิทยาลัยตามนโยบายสภามหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 1.1.1 ร้อยละความสำเร็จของการขับเคลื่อนการดำเนินงานตามนโยบายสภามหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 67-70 MJU 1.1.1.1 สนับสนุนและขับเคลื่อนการดำเนินงานตามนโยบายสภามหาวิทยาลัยทุกด้านให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67 AP 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
เป้าประสงค์ 67 AP 1.1 ความสำเร็จของการขับเคลื่อนการดำเนินงานตามนโยบายสภามหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัด 67 AP 1.1.1 ร้อยละความสำเร็จของการขับเคลื่อนการดำเนินงานตามนโยบายสภามหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 67 AP 1.1.1.1 ขับเคลื่อนการดำเนินงานตามนโยบายสภามหาวิทยาลัยด้านดิจิทัล และขับเคลื่อนการนำดิจิทัลเทคโนโลยีมาช่วยงานบริการเพื่อประสิทธิภาพการทำงาน (Digital Service)
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

แตงไทยจัดอยู่ในพืชวงศ์แตง (Cucurbits) มีปลูกอยู่ในทั่วทุกภาคของประเทศไทยเป็นเวลานานจนมาถึงปัจจุบัน โดยสายพันธุ์ที่ปลูกทั่วไปเป็นพันธุ์ที่ผสมกันเองตามธรรมชาติ มีการปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมได้ค่อนข้างดีแต่มีลักษณะความแปรปรวนทางพันธุกรรมค่อนข้างสูงและมีความหลากหลายทางพันธุกรรมของสายพันธุ์เป็นอย่างมาก ทั้งทางด้านรูปร่างของผล ลวดลายบนผล สีผิวผล เปลือกผล เนื้อผล สีเนื้อ สีไส้ เป็นต้น จุดเด่นแตงไทยที่ค่อนข้างดีคือเป็นพืชที่มีความทนทานต่อการเข้าทำลายของโรคและแมลงค่อนข้างสูง เมื่อเปรียบเทียบกับแตงชนิดอื่นๆ มีคุณค่าทางอาหารหลายอย่าง ในแตงไทยหนึ่งผลอุดมไปด้วยวิตามินเอ วิตามินซี ฟอสฟอรัส แคลเซียม ไฟเบอร์ และสารอาหารอีกหลายชนิดที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ ช่วยส่งเสริมระบบภูมิคุ้มกัน ดีต่อระบบย่อยอาหาร ให้ความชุ่มชื้นและดีต่อสุขภาพผิว ช่วยลดการอักเสบ สรรพคุณทางสมุนไพร ดอกและใบ แก้ไข แก้ดีซ่าน ผลเป็นยาระบาย ขับปัสสาวะ (ทัตพร,2565: หมอชาวบ้าน,2561) แตงไทยสามารถนำผลมาบริโภคได้ตั้งแต่ระยะเป็นผลขนาดเล็ก โดยใช้บริโภคผลสดเช่นเดียวกันกับผลแตงกวาซึ่งสามมารถใช้กับน้ำพริกหรือบางพื้นที่ใช้ในการประกอบอาหารคาวต่างๆ เช่น นำไปผัด แกงเผ็ด เป็นต้น แตงไทยผลอ่อนจะมีลักษณะเนื้อหนาและแน่นกว่าผลแตงกวา ทำให้สามารถมีอายุเก็บรักษาได้นานกว่าผลแตงกวา ปัจจุบันสายพันธุ์แตงไทยเพื่อการบริโภคผลอ่อนมีในปริมาณค่อนข้างน้อยมากเมื่อเปรียบเทียบกับสายพันธุ์แตงกวาซึ่งมีอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งจากการรวบรวมพันธุ์แตงไทยพื้นเมืองในเขตพื้นที่ภาคเหนือที่ผ่านมาพบว่ามีลักษณะผลแตงไทยในบางพื้นที่เป็นที่น่าสนใจในการพัฒนาเป็นแตงไทยเพื่อใช้รับประทานผลอ่อนได้ นอกจากเป็นการช่วยอนุรักษ์และรักษาสายพันธุ์แตงไทยพื้นเมืองไม่ให้สูญหายไปจากท้องถิ่นแล้วยังเป็นการใช้ประโยชน์จากพันธุ์แตงไทยที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุดเป็นอย่างดี ดังนั้นผู้วิจัยจึงมีความสนใจในการนำสายพันธุ์แตงไทยที่รวบรวมได้จากพื้นที่ภาคเหนือมาปลูกเพื่ออนุรักษ์และรักษาสายพันธุ์ไว้เนื่องจากเมล็ดของแตงไทยมีข้อจำกัดด้านระยะเวลาของอายุการเก็บรักษา หากไม่มีการปลูกขยายเมล็ดพันธุ์เพื่ออนุรักษ์ไว้ก็อาจส่งผลต่อการเสื่อมสภาพของอายุเมล็ดพันธุ์ได้ และในการปลูกเพื่อขยายเมล็ดพันธุ์ก็สามารถคัดเลือกหาสายพันธุ์ที่มีความเหมาะสมต่อการนำมาใช้เป็นผลอ่อนได้ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อเกษตรกรผู้ปลูกแตงไทยเพื่อการบริโภคผลอ่อนต่อไป และเมล็ดพันธุ์แตงไทยที่ได้เกษตรกรสามารถขยายพันธุ์ได้เอง ช่วยลดการพึ่งพาเมล็ดพันธุ์จากร้านค้า ทำให้เกษตรกรลดต้นทุนการผลิตสามารถช่วยลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรได้อย่างยั่งยืน

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อสนองพระราชดำริภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
2. เพื่อปลูกและดูแลรักษาพันธุ์แตงไทยพื้นเมืองในพื้นที่ภาคเหนือที่ได้ทำการรวบรวมไว้
3. เพื่อคัดเลือกสายพันธุ์แตงไทยที่เหมาะสมต่อการบริโภคผลอ่อน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : - แหล่งรวบรวมและอนุรักษ์พันธุกรรมของแตงไทย
KPI 1 : องค์ความรู้เรื่องแตงไทยพันธุ์พื้นเมืองที่เหมาะสมสำหรับบริโภคผลอ่อน เป้าหมาย 1 องค์ความรู้
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 องค์ความรู้ 1
KPI 2 : แหล่งอนุรักษ์พันธุกรรมแตงไทย เป้าหมาย 1 แหล่ง
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 แหล่ง 1
KPI 3 : ร้อยละของงานวิจัยที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของวิจัย เป้าหมาย ร้อยละ 90
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 4 : ร้อยละของงบประมาณที่ใช้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ เป้าหมาย ร้อยละ 100
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : - แหล่งรวบรวมและอนุรักษ์พันธุกรรมของแตงไทย
ชื่อกิจกรรม :
1. จัดเตรียมเมล็ดพันธุ์แตงไทยพื้นเมือง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 03/01/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.แสงเดือน  อินชนบท (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร เมล็ดพันธุ์แตงไทยพื้นเมือง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 10,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 10000.00
ชื่อกิจกรรม :
2. เตรียมพื้นที่และปลูกเพื่อขยายพันธุ์เพื่อการอนุรักษ์สายพันธุ์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 03/01/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร เช่น ปุ๋ยอินทรีย์ น้ำหมักอินทรีย์ สายยาง ถาดเพาะ วัสดุเพาะกล้า แกลบ ดินดำ เข่ง บัวรดน้ำ จอบ เสียม พลั่ว คราด พลาสติกคลุมแปลง ฟางก้อน เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 99,000.00 บาท 65,000.00 บาท 0.00 บาท 164,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 164000.00
ชื่อกิจกรรม :
3. ทำการคัดพันธุ์แตงไทยสำหรับการบริโภคผลอ่อน
- บันทึกลักษณะต่างๆ เช่น การเจริญเติบโต ลักษณะผล ลวดลายผล ลักษณะเนื้อ ความแน่นเนื้อ เป็นต้น

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 03/01/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.แสงเดือน  อินชนบท (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุงานบ้านงานครัว เช่น ตะกร้า มีด ไม้กวาดอ่อน ไม้กวาดทางมะพร้าว ถุงขยะ เขียง กะละมัง ถังมีหูหิ้ว แกลลอน กรวย ผ้ามุ้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 10,000.00 บาท 10,000.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 20000.00
ชื่อกิจกรรม :
4. เผยแพร่องค์ความรู้ให้แก่ผู้สนใจ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 03/01/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.แสงเดือน  อินชนบท (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รวมจำนวนเงินทั้งหมด
ชื่อกิจกรรม :
5. รายงานผลงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 03/01/2567 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.แสงเดือน  อินชนบท (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน เช่น ไม้บรรทัด เวอร์เนีย กระดาษA4 แฟ้มห่วง แฟ้มหนีบ ดินสอ ปากกา ซองพลาสติก เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท 6,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 6000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มี
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
การประเมินลักษณะของแตงไทยพื้นเมืองที่เหมาะสมสำหรับเป็นแตงไทยผลอ่อน
ช่วงเวลา : 01/02/2567 - 30/09/2567
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล