20795 : โครงการการอนุรักษ์ รวบรวม พัฒนาและใช้ประโยชน์พันธุกรรมพืชในท้องถิ่น (มะเกี๋ยง) พื้นที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2567
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/9/2567 12:29:08
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
13/11/2566  ถึง  30/09/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  200  คน
รายละเอียด  นักวิจัย นักเรียน นักศึกษา ประชาชนทั่วไปที่สนใจ (สมาชิกสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน สมาชิก อปท. เช่น องค์การบริหารส่วนตำบล องค์การบริหารส่วนจังหวัด หน่วยงานราชการต่างๆ ที่ร่วม สนองงาน เป็นต้น)
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบประมาณแผ่นดิน โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 2567 200,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย กิติพงษ์  วุฒิญาณ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
อาจารย์ ดร. ศุกรี  อยู่สุข
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 1.2 ความสำเร็จของการเป็นมหาวิทยาลัยแห่งชีวิต (GO. Eco U.)
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 1.2.3 ผลการจัดอันดับ SDG Impact Ranking (Eco. University)
กลยุทธ์ 67-70 MJU 1.2.3.1 ผลักดันการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยและผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยเพื่อตอบโจทย์เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในส่วนที่เกี่ยวข้อง
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 67-70 MJU 2.3.1.2 ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-6 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
เป้าประสงค์ 67-6.5 การพัฒนาตามยุทธศาสตร์ / อัตลักษณ์ / ภารกิจเฉพาะของส่วนงาน
ตัวชี้วัด 67-6.5.1 จำนวนงบประมาณโครงการบริการวิชาการจากแหล่งทุนภายใน
กลยุทธ์ 67-6.5.1.1 ผลักดันให้บุคลากรแสวงหางบประมาณโครงการบริการวิชาการจากแหล่งทุนภายในของส่วนงานและมหาวิทยาลัย อาทิเช่น โครงการสนองงานในพระราชดำริ/ โครงการอพ.สธ. /โครงการภายใต้เศรษฐกิจพอเพียง/โครงการภายใต้สน.วิจัย และอื่นๆ ในประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

มะเกี๋ยง พืชอนุรักษ์ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช (อพ.สธ.) เป็นพืชนำร่องในการศึกษา พัฒนา วิจัย และนำมาใช้ประโยชน์ต่าง ๆ ในเชิงพานิชย์ และยังมีพืชอนุรักษ์ชนิดอื่น ๆ เช่น มะกิ้ง น้อยหน่าเครือ ตีนฮุ้งดอย ชาเมี่ยง กล้วยไม้ ทุเรียนเมืองนนท์ มเหสักห์สยาม ยางนา เป็นพืชที่ทางคณะปฏิบัติการ อพ.สธ ได้เสนอขอพระราชนุญาตให้เป็นพืชอนุรักษ์ อพ.สธ. และให้ศึกษาการใช้ประโยชน์ขึ้น เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้เป็นพืชเศรษฐกิจและพัฒนาให้เป็นพืชอุตสาหกรรม หรือพืชเศรษฐกิจเชิงพานิชย์ในอนาคต และเพื่อเป็นพืชนำร่องหรือเป็นพืชตัวอย่างศึกษาวิจัยต้องใช้ความพยายามและทรัพยากรด้านต่างๆไม่ว่าจะเป็นเรื่องบุคลากรนักวิจัยเครื่องมืออุปกรณ์ห้องปฏิบัติการงบประมาณรวมทั้งการจัดการซึ่งงานวิจัยพัฒนามะเกี๋ยงที่ผ่านมาเป็นการดำเนินการในเบื้องต้นยังต้องมีการศึกษาในขั้นต่อๆไปที่สำคัญจากการสำรวจของคณะปฏิบัติการวิทยาการอพ.สธ.ในพื้นที่ต่างๆได้พบพืชมากมายที่มีศักยภาพและภูมิปัญญาที่จะนำไปพัฒนาให้เกิดประโยชน์โดยแท้ โดยมีผลิตภัณฑ์ออกมาจำหน่ายมากมาย เช่น โยเกิร์ตมะเกี๋ยง น้ำมะเกี๋ยงพร้อมดื่ม น้ำมะเกี๋ยงเข้มข้น ชาใบมะเกี๋ยง เป็นต้น การส่งเสริมและการถ่ายทอดองค์ความรู้นั้น สิ่งจำเป็นที่เห็นเป็นรูปธรรมและเข้าใจง่ายที่สุด คือการสร้างฐานเรียนรู้ให้ผู้ที่มารับ หรือศึกษาหาความรู้ได้เข้าใจมากที่สุด ซึ่งงานวิจัยพัฒนามะเกี๋ยงที่ผ่านมาเป็นการดำเนินการในเบื้องต้นยังต้องมีการศึกษาในขั้นตอนต่อๆไปการสำรวจของคณะปฏิบัติการวิทยาการอพ.สธ.ในพื้นที่ต่างๆได้พบพืชมากมายที่มีศักยภาพและภูมิปัญญาที่จะนำไป พัฒนาให้เกิดประโยชน์แก่ประชาชน ชุมชนและประเทศได้อย่างยั่งยืนต่อไป มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ จึงความประสงค์ที่ต้องการงบประมาณ ในการดำเนินงาน บำรุง ดูแลรักษา และพัฒนาศูนย์เรียนรู้การปลูกพืชมะเกี๋ยง และอนุรักษ์อื่นๆ ดังกล่าวขึ้นให้เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ ฐานทรัพยการท้องถิ่น (อปท.) และงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน (โรงเรียน) ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ เพื่อให้บริการวิชาการให้แก่ นักวิจัย คณาจารย์ นักเรียน นักศึกษา ประชาชนทั่วไปที่สนใจ เข้ามาเยี่ยมชมตัวอย่าง ศึกษา ดูงาน เพื่อนำไปต่อยอดโครงการ และนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป โครงการศึกษาพัฒนาการปลูกพืชมะเกี๋ยง และพืชอนุรักษ์อื่นๆ ที่ปลูกในสภาพพื้นที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ จำนวน 500 กว่าต้น นอกจากให้ผลผลิตนำมาแปรรูปแล้ว ยังมีคุณประโยชน์ที่สำคัญอีกประการหนึ่ง คือ การอนุรักษ์ดินและน้ำ การช่วยเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพิ่มปริมาณออกชิเจน การช่วยสร้างระบบนิเวศน์ธรรมชาติ และเป็นที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตต่างๆ ได้พึ่งพาอาศัย เป็นต้น ในกิจกรรมย่อยนี้ จะมีการศึกษานำพืชมะเกี๋ยงในพืชที่ตัวอย่าง นำมาวัดหาค่าปริมาณ การลด การดูดซับ และการกักเก็บก๊าชเรือนกระจก หรือ คาร์บอนเครดิต (Carbon Credit) ในการนี้ด้วย

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อสนองพระราชดำริภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
2. เพื่อสร้างศูนย์เรียนรู้การอนุรักษ์พันธุ์พืชมะเกี๋ยง และพืชอนุรักษ์อื่น ๆ
3. เพื่อสร้างศูนย์เรียนรู้การศึกษาการใช้ประโยชน์พันธุ์พืชมะเกี๋ยง และพืชอนุรักษ์อื่น ฯ
4. เพื่อพัฒนาแปลงปลูกพืชมะเกี๋ยง เพื่อต่อยอดในการศึกษา วิจัย และในรูปแบบต่าง ๆ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : โครงการ การอนุรักษ์ รวบรวม พัฒนาและใช้ประโยชน์พันธุกรรมพืชในท้องถิ่น (มะเกี๋ยง)
KPI 1 : จำนวนผู้เข้ามาศึกษาดูงาน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
200 คน 200
KPI 2 : จำนวนผลผลิตมะเกี๋ยง
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1000 กิโลกรัม 1000
KPI 3 : ผู้เข้าศึกษาดูงานมีความพึงพอใจต่อการศึกษาดูงาน
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : จำนวนผู้เข้ารับการอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 คน 50
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : โครงการ การอนุรักษ์ รวบรวม พัฒนาและใช้ประโยชน์พันธุกรรมพืชในท้องถิ่น (มะเกี๋ยง)
ชื่อกิจกรรม :
การพัฒนา ดูแลแปลงปลูก เพื่อการอนุรักษ์พืชมะเกี๋ยง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 13/11/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายกิติพงษ์  วุฒิญาณ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าจ้างเหมาตัดหญ้า จำนวน 2 ครั้ง ๆ ละ 5,000 บาท เป็นเงิน 10,000 บาท
2. ค่าจ้างเหมาเก็บผลมะเกี๋ยง จำนวน 1 ครั้ง ๆ ละ 20,000 บาท เป็นเงิน 20,000 บาท
3. ค่าจ้างเหมาเพาะเมล็ดมะเกี๋ยงและกรอกดินปลูก จำนวน 1 งาน ๆ ละ 15,000 บาท เป็นเงิน 15,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
45,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 45,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุเกษตร เป็นเงิน 95,400บาท
2. ค่าวัสดุน้ำมันเชื้อเพลิงและหล่อลื่น เป็นเงิน 20,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
115,400.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 115,400.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 160400.00
ชื่อกิจกรรม :
ถ่ายทอดองค์ความรู้และการใช้ประโยชน์จากพืชมะเกี๋ยง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 13/11/2566 - 30/09/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายกิติพงษ์  วุฒิญาณ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ตะวัน  ฉัตรสูงเนิน (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รัฐพงศ์  ปกแก้ว (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.อนุวัฒน์  จรัสรัตนไพบูลย์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายสิทิไวกูล  ทิราวงศ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายอนุกูล  จันทร์แก้ว (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางธนันธรณ์  วุฒิญาณ (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.ถิรนันท์  กิติคู้ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารกลางวันผู้ จำนวน 50 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 150 บาท เป็นเงิน 7,500 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 50 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 3,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 11,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 11,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยาการภาคบรรยาย จำนวน 1 คน ๆ ละ 1 วัน ๆ ละ 6 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุสำนักงาน เป็นเงิน 25,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 25,000.00 บาท 25,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 39600.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ผลผลิตพืชมะเกี๋ยง ฤดูกาลปี 2567 พืชมะเกี๋ยงมีการแทงช่อดอกล่าช้าไป 1 เดือนโดยปกติ และมีการออกดอกมาก แต่ติดผลน้อย เนื่องจากสภาพภูมิอากาศมีความแปรปรวนไม่เอื้ออำนวยได้เริ่มดำเนินการเก็บเกี่ยวผลผลิตมะเกี๋ยงได้ในช่วงวันที่ 5 กรกฎาคม ถึงวันที่ 6 สิงหาคม โดยมีปริมาณผลผลิต จำนวน 448 กิโลกรัม ต่ำกว่าตัวชี้วัดที่ตั้งไว้ คือ 1,000 กิโลกรัม โดยคาดว่าเกิดจาก สภาพภูมิอากาศที่แปรปรวนไม่สามารถควบคุมได้
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
บำรุงดูแลใส่ปุ๋ยอินทรีย์
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล